ไว้ทุกข์ คือ
สัทอักษรสากล: [wai thuk] การออกเสียง:
"ไว้ทุกข์" การใช้"ไว้ทุกข์" อังกฤษ"ไว้ทุกข์" จีน
ความหมายมือถือ
- ก. แต่งกายหรือแสดงเครื่องหมายตามประเพณีนิยมว่าตนมีทุกข์เพราะบุคคลสำคัญในครอบครัวเป็นต้นตายไป เช่น ไว้ทุกข์ให้พ่อ.
- ไว ว. ลักษณะที่เคลื่อนไหว หรือสามารถคิด หรือกระทำสิ่งใดได้คล่องแคล่วรวดเร็วหรือฉับพลันทันที เช่น เด็กคนนั้นเดินไว วิ่งไว ๆ เข้า เดี๋ยวไปไม่ทัน. ก.
- ไว้ ก. เก็บเข้าที่, เอาเข้าที่, เช่น เอาของไปไว้ที่, วาง เช่นเอาไว้ตรงนั้นแหละ ไว้ของให้เป็นที่,
- ทุ ๑ ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า
- ทุก ทุกะ- ( แบบ ) น. หมวด ๒. ( ป. ). ๑ ว. แต่ละหน่วย ๆ ของจำนวนทั้งหมด, ทั้งหมดโดยหมายแยกเป็นหน่วย ๆ, เช่น คนที่เกิดมาแล้วมีปัญญาด้วยกันทุกคน
- ทุกข ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. ( ป. ; ส. ทุะข).
- ทุกข์ ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. ( ป. ; ส. ทุะข).
- ผู้ไว้ทุกข์ ผู้โศกเศร้า ผู้ไว้อาลัย
- ชุดไว้ทุกข์ ชุดดำ ชุดงานศพ ชุดไปงานศพ
- ที่ถูกกักขังไว้ ซึ่งไม่ได้รับการปลดปล่อย ที่ถูกควบคุมไว้
- ฝากข้อความไว้ที่ ฝากข้อความไว้กับ
- แถบผ้าสีดำไว้ทุกข์ ต้นยาสูบ วัชพืช สัตว์ผอมที่อ่อนแอ
- เกี่ยวกับการไว้ทุกข์ให้คนตาย ละห้อย เสียใจ มืดมน ไม่สดใส
- เครื่องหมายไว้ทุกข์ คนรับจ้างร้องไห้ในงานศพ ผู้ร้องไห้ สิ่งที่ห้อยย้อย
- ทักข์ ๑ ว. สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. (ป.). ๒ ก. ดู, แล, เห็น, เช่น เล็งทักข์อาทรเธอ เท่าฟ้า, เล็งทักข์ทุรเวทแล้ว เล็งดอย ดงนา. (ลำน้ำน้อย).
- ทุกข- ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. (ป.; ส. ทุะข).
ประโยค
- โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตกอยู่ ในระหว่างการไว้ทุกข์
- เธองดงามเหมือนชุดของเธอ ถึงแม้จะเป็นชุดไว้ทุกข์
- ไว้ทุกข์ไว้โศกให้กับการจากไป ของลูกชายสุดที่รัก
- เจ้าทำอะไรกัน เรายังไว้ทุกข์ให้พ่อข้ากันอยู่นะ
- พิธีไว้ทุกข์เราจัดขึ้นกินเวลานาน ตลอดทั้งเดือน
- ที่ซึ่งเราจะได้ไว้ทุกข์ต่อการสิ้นพระชนม์ด้วยกัน
- ทำไมเจ้าถึงได้วิ่งไปทั่ว ในช่วงไว้ทุกข์แบบนี้
- เขาอยู่ในช่วงไว้ทุกข์ ผู้ช่วยคนก่อนหน้าคุณน่ะ
- ข้าคิดว่าท่านยังไว้ทุกข์ การเสียชีวิตของน้าไลซ่าท
- ข้ารู้ว่าเจ้าต้องไว้ทุกข์ให้กับพี่ชายของเจ้า