กระเสาะกระแสะ คือ
สัทอักษรสากล: [kra sǿ kra sae]การออกเสียง: กระเสาะกระแสะ การใช้"กระเสาะกระแสะ" อังกฤษ"กระเสาะกระแสะ" จีน
- ว. อาการที่ป่วยอยู่บ่อย ๆ, เสาะแสะ ก็ว่า.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กร: ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ: ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระเสาะ: กระเสาะกระแสะ กระแสะ กําเสาะ อ่อนเพลีย เพลีย เสาะ
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เส: ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสา: ๑ น. ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น. ๒
- เสาะ: ๑ ก. ค้น, สืบ, แสวง, เช่น เสาะหา. ว. ไม่เข้มแข็ง ในคำว่า ใจเสาะ. ๒ ( โบ ; วรรณ ) ก. ทรุดลง, ห่อเหี่ยวลง, ใช้ว่า เสราะ ก็มี เช่น
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สา: ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- กระแส: น. น้ำหรือลมเป็นต้นที่ไหลหรือพัดเรื่อยเป็นแนวเป็นทางไปไม่ขาดสาย เช่น กระแสน้ำ กระแสลม, โดยปริยายหมายถึงอาการเช่นนั้น; เส้น, สาย, แนว, ทาง, เช่น
- กระแสะ: ว. เพลีย, โผเผ, ไม่มีกำลัง, เช่นพูดว่า ข้ามันให้อ่อนหิวกระแสะ ๆ ไป. ( ดิกชนารีไทย ), และใช้เข้าคู่กับคำ กระเสาะ เป็น กระเสาะกระแสะ.
- แส: ๑ ก. แฉ, ชำระ, สะสาง. น. หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคำ สาว ว่า สาวแส. ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์
- แสะ: น. ม้า. ( ข. ).
- สะ: ๑ ว. สวย. ๒ ก. ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.