ขากรรไกร คือ
สัทอักษรสากล: [khā kan krai]การออกเสียง: ขากรรไกร การใช้"ขากรรไกร" อังกฤษ"ขากรรไกร" จีน
-กันไกฺร
น. กระดูกต้นคางที่อ้าขึ้นอ้าลง มีลักษณะอย่างกรรไกร, ขากรรไตร หรือ ขาตะไกร ก็ว่า.
- ข: พยัญชนะตัวที่ ๒ เป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต.
- ขา: ๑ น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า);
- ขาก: ๑ ก. อาการที่ทำให้เสมหะเป็นต้นในลำคอหลุดออก มักมีเสียงดังเช่นนั้น. ๒ ( โบ ) ก. ภูมิใจ เช่น ความยินลากขากดีจะมีไหน. ( อภัย ). (ไทยใหญ่).
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กร: ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร: ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรไกร: กันไกฺร น. ตะไกร. ( เลือนมาจาก กรรไตร). ( ดู ตะไกร ๑ ).
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ไก: ๑ น. ที่สำหรับเหนี่ยวให้ลูกกระสุนเป็นต้นลั่นออกไปเช่น ไกปืน ไกหน้าไม้. ๒ น. ผักไก. ( ดู เทา ๒ ).
- ไกร: ๑ ไกฺร น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae ลักษณะคล้ายต้นไทร มี ๒ ชนิด คือ ชนิด F. concinna Miq. เปลือกสีเทาค่อนข้างเรียบ