ฉกามาวจร คือ
ฉะกามาพะจอน, ฉะกามาวะจอน
น. สวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่
๑. จาตุมหาราช หรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา
๒. ดาวดึงส์
๓. ยามา
๔. ดุสิต
๕. นิมมานรดี
๖. ปรนิมมิตวสวัตดี. (ป. ฉ + กาม + อวจร).
- ฉ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๙ นับเป็นพวกอักษรสูง. ๒ ฉอ, ฉ้อ, ฉะ ว. หก, สำหรับประกอบหน้าศัพท์อื่น. ( ป. ).
- ฉก: ๑ ก. ฉวยหรือชิงเอาโดยเร็ว; สับ, โขก, เช่น งูฉก. ๒ น. ชื่อปาล์มชนิด Arenga westerhoutii Griff. วงศ์ Palmae ขึ้นตามป่าดิบชื้นทางภาคใต้
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กา: ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- กาม: กามมะ- น. ความใคร่, ความใคร่ทางเมถุน. ( ป. , ส. ).
- กามา: ( กลอน ) น. กาม เช่น เข้าแต่หอล่อกามา. ( มูลบท ).
- กามาวจร: ว. ที่ยังข้องอยู่ในกาม, ที่ท่องเที่ยวอยู่ในกามภพ. ( ป. กาม + อวจร).
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มา: ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- จ: พยัญชนะตัวที่ ๘ เป็นตัวต้นวรรคที่ ๒ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ จอร์จ.
- จร: ๑ จอน, จอระ-, จะระ- ว. ไม่ใช่ประจำ เช่น คนจร รถจร, แทรกแปลกเข้ามา เช่น โรคจร ลมจร. ก. ไป, เที่ยวไป; ประพฤติ. ( ป. , ส. ),
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร