ชระอับ คือ
สัทอักษรสากล: [cha ra ap]การออกเสียง: "ชระอับ" อังกฤษ
ชฺระ-
(กลอน) ว. อับ, มืดมัว, มืดคลุ้ม.
- ช: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. ๒ ในภาษาบาลีและสันสกฤต
- ชร: ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชระ: ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง
- อับ: ๑ น. ตลับ. ๒ ว. ไม่มีลมเข้าออก, ไม่โปร่ง, เช่น อากาศอับ, ไม่เคลื่อนไหว เช่น ลมอับ; ไม่มีตาไป (ใช้แก่หมากรุก); โง่ เช่น ปัญญาอับ;
- ั: ชั่วคราว
- บ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๖ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบ. ๒ บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ