ช่วยตัวเอง คือ
สัทอักษรสากล: [chūay tūa ēng]การออกเสียง: ช่วยตัวเอง การใช้"ช่วยตัวเอง" อังกฤษ"ช่วยตัวเอง" จีน
- 1) v.
สำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ชื่อพ้อง: อัตตกามกิริยา
2) v.
กระทำกิจใดๆ ด้วยตนเอง
ตัวอย่างการใช้: พ่อแม่ต้องสอนให้ลูกรู้จักช่วยตนเองเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยของเขา
- ช: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. ๒ ในภาษาบาลีและสันสกฤต
- ช่วย: ก. ส่งเสริมเพื่อให้สำเร็จประโยชน์; ป้องกัน เช่น ช่วยไม่ได้.
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
- ตัว: ๑ น. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ; ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า ๕ ตัว
- ตัวเอง: 1) pron. คำใช้เรียกแทน หมายถึงตัวของคนๆ นั้นเอง ชื่อพ้อง: ตนเอง คำตรงข้าม: ผู้อื่น, คนอื่น ตัวอย่างการใช้:
- ั: ชั่วคราว
- เอ: ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. ( ตัดมาจาก เอก). ๒ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
- เอง: ว. คำเน้นแสดงว่าไม่ใช่ผู้อื่นหรือสิ่งอื่น เช่น ฉันเอง เป็นธรรมดาอยู่เอง; ตามลำพัง, เฉพาะตน, เช่น ไปกันเอง; แหละ, นี่แหละ, นั่นแหละ, เช่น
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง
- อง: น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.