เปสุญ- คือ
-สุน, -สุนยะ-, -ไน
น. ความส่อเสียด. (ป. เปสุญฺ; ส. ไปศุนฺย).
- เปสุญ: -สุน, -สุนยะ-, -ไน น. ความส่อเสียด. ( ป. เปสุญฺ; ส. ไปศุนฺย).
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป
- ปสุ: ปะสุ น. ปศุ. ( ป. ; ส. ปศุ).
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สุ: ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุญ: สุน, สุนยะ- ว. ว่างเปล่า. ( ป. สุญฺ; ส. ศูนฺย).
- สุญ-: สุน, สุนยะ- ว. ว่างเปล่า. ( ป. สุญฺ; ส. ศูนฺย).
- ุ: คําตัดสินสุดท้าย
- ญ: พยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรต่ำ และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ