เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

นิวรณ์ คือ

การออกเสียง:
"นิวรณ์" อังกฤษ"นิวรณ์" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. สิ่งห้ามกันจิตไว้มิให้บรรลุความดี มี ๕ ประการ คือ ความพอใจรักใคร่ ๑ ความพยาบาท ๑ ความง่วงเหงาหาวนอน ๑ ความฟุ้งซ่านรำคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. (ป.).
  • นิ     ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
  • วร     วะระ-, วอระ- น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ( ป. , ส. ).
  • รณ     รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
  • นักวรรณคดี    n. ผู้ชำนาญในวรรณคดี clf.: คน
  • (วรรณ)    เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม
  • ธรณิศวร์    ทอระนิด (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
  • ธรณีศวร    น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส. ธรณี + อิศฺวร).
  • บริบวรณ์    บอริ-บวน (โบ; กลอน) ก. บริบูรณ์.
  • วรณะ    วะระนะ น. ป้อม, กำแพง, ที่ป้องกัน; การป้องกัน. (ป., ส.).
  • วรรณ    วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคน
  • วรรณ-    วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคน
  • วรรณะ    วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคน
  • วรรณึก    น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. (ส. วรฺณิก).
  • วิวรณ์    น. การเปิด, การเผยแผ่, การไขความ. (ป., ส.).
  • สุวรรณ    -วัน, -วันนะ- น. ทอง. (ส. สุวรฺณ; ป. สุวณฺณ).