(ขุนช้างขุนแผน) คือ
- มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑
- ขุน ๑ น. ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า, บรรดาศักดิ์ข้าราชการรองจากหลวงลงมา เช่น ขุนวิจิตรมาตรา; เรียกหมากรุกตัวสำคัญที่สุด. ว. ใหญ่ เช่น ขุนเขา. ๒ ก.
- ช้า ๑ ว. ค่อย ๆ เคลื่อนไป, ไม่เร็ว, ไม่ไว, เช่น เดินช้า วิ่งช้า; ล่า, ไม่ทันเวลาที่กำหนด, เช่น มาช้า. ๒ ว. หยาบ, ชั่ว, เลว, ทราม, เช่น
- ช้าง ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae ตัวสีเทา จมูกยื่นยาวเรียกว่า งวง ตัวผู้มีงายาวเรียก ช้างพลาย
- ขุนแผน ๑ ( โบ ) น. พรหมธาดา. (เจ้าแห่งแผน คือพระพรหม). ๒ น. ชื่อนกชนิด Urocissa erythrorhyncha ในวงศ์ Corvidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับอีกา ปากสีแดง
- แผน ๑ น. สิ่งที่กำหนดถือเป็นแนวดำเนิน เช่น วางแผน, แบบ, ตำรา, เช่น แผนโบราณ แผนปัจจุบัน. ๒ ( โบ ; กลอน ) น. เรียกพระพรหมว่า ขุนแผน เช่น
- (ขุนช้างขุนแผน-แจ้ง) มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนแต่งงานพระไวย (สำนวนครูแจ้ง) ฉบับกรมศิลปากร พ.ศ. ๒๔๗๘
- แผนที่วางขึ้น อุบาย
- แผนชั่วร้าย แผนก่อการร้าย
- แผนแม่บท n. แผนการใหญ่ ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตและวิธีการปฏิบัติการของแผนการอื่นทั้งหมด ตัวอย่างการใช้: รัฐบาลกำลังเร่งแปรรูปองค์การโทรศัพท์ฯ เป็นบริษัทโทรศัพท์ จำกัด ตามแผนแม่บทพัฒนากิจการโทรคมนาค
- แผนร่าง ฉบับร่าง ร่างจดหมาย เอกสารฉบับร่าง
- ตารางอธิบายบนแผนที่แผนภูมิ ความเท็จ v คำสลัก ชาดก นิทานสั้น ผู้เป็นตัวเอกของเรื่อง
- เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง (สำ) ก. ทำเลียนแบบคนใหญ่คนโตหรือคนมั่งมีทั้ง ๆ ที่ตนไม่มีกำลังทรัพย์หรือความสามารถพอ, มีความหมายอย่างเดียวกับ เห็นเขาขึ้นคานหาม เอามือประสานก้น หรือเห็นเขาขึ้นคานหาม เอามือประสานรัดก้น.
- วางแผนไว้อย่างเห็นแก่ตัว สามารถคำนวณได้ หลักแหลม
- ร่างแผน วางแผน
- วางแผน ก. กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป, วางแผนการ ก็ว่า; ทำท่าทีใหญ่โต เช่น ทำวางแผนเป็นขุนนางชั้นสูง.