เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

(คำฤษดี) คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • มาจาก หนังสือคำฤษดี สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จกรมพระเดชาดิศร และ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ช่วยกันทรงนิพนธ์ ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ ร.ศ. ๑๒๔
  • คำ     ๑ น. ทองคำ เช่น หอคำ เชียงคำ. ๒ น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด
  • ดี     ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
  • สฤษดิ์    น. สฤษฏ์.
  • ดำฤษณา    ดำริดสะหฺนา น. ความปรารถนา, ความดิ้นรน, ความอยาก, ความเสน่หา. (ส. ตฺฤษฺณา; ป. ตณฺหา).
  • ทำฤทธิ์    ก. ทำพยศหรืออาละวาดเพื่อให้ได้รับการเอาอกเอาใจ (มักใช้แก่เด็ก), ทำฤทธิ์ทำเดช ก็ว่า.
  • ฤษี    รึ- น. ฤๅษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ. (ส. ฤษี ว่า ผู้เห็น, ผู้แต่งพระเวท; ป. อิสิ).
  • ดาษดา    ดาด, ดาดสะดา ว. มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดาดาษ หรือ ดารดาษ ก็ใช้.
  • ดาษดื่น    ดาด- ว. เกลื่อนกลาด, มากหลาย, ดื่นดาษ ก็ว่า.
  • ทุกษดร    ทุกสะดอน (โบ; กลอน) ว. ทุกข์ยิ่งกว่า. (ป. ทุกฺขตร).
  • ฤษภ    รึสบ น. วัวตัวผู้. (ส.; ป. อุสภ).
  • (กฤษณา)    มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์
  • กฤษฎา    ๑ กฺริดสะดา (โบ; กลอน; แผลงมาจาก กฤด) ว. ที่ทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว). (ตะเลงพ่าย). ๒ กฺริดสะ- (โบ; กลอน) แผลงมาจาก กฤดาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา. (ม. คำหลวง ฉกษั
  • กฤษฎี    กฺริดสะดี (แบบ; กลอน) น. รูป เช่น พระอินทราธิราชแปรกฤษฎี. (สมุทรโฆษ). (ส. อากฺฤติ = รูป).
  • กฤษฎีกา    กฺริดสะ- น. แผลงมาจาก กติกา เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล. (ม. คำหลวง วนปเวสน์); (กฎ) บทกฎหมายซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้น เพื่อใช้ในการบริหาร เรียกว่า พระราชกฤษฎีกา; ชื่อคณะกรรมการป
  • กฤษณา    กฺริดสะหฺนา น. ส่วนของเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ เกิดเมื่อต้นไม้มีบาดแผล พบเฉพาะในต้นไม้ชนิด Aquilaria crassna Pierre ex H. Lec. และ A. malaccensis Lam. ในวงศ์ Thymelaeaceae กลิ่นหอม ใช้ทำยาได้.