เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ก.ล. คือ

การออกเสียง:
"ก.ล." อังกฤษ"ก.ล." จีน
ความหมายมือถือ
  • กล.
    กิโลลิตร
  • ก.     เป็นคำกริยา
  • ล.     ลิตร แอล
  • กุล    ๑ กุน, กุนละ-, กุละ- น. ตระกูล, สกุล. (ป., ส.). ๒ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นพิกุล. (ดู พิกุล).
  • กุล-    กุน, กุนละ-, กุละ- น. ตระกูล, สกุล. (ป., ส.).
  • กุลี    ๑ น. คนรับจ้างทำงานหนักมีหาบหามเป็นต้น. ๒ เพี้ยนมาจาก กลี เช่น เกิดการกุลี. (กฎ. ราชบุรี). ๓ ลักษณนามบอกปริมาณ คือผ้าห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน (ใช้แก่ผ้าลาย ผ้าพื้น ผ้าขาวม้า และโสร่ง เป็นต้น).
  • ลัก    ก. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย, เช่น ลักทรัพย์, แอบทำ, ลอบทำ, เช่น ลักกินขนมในห้องเรียน ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ. ว. เว้นข้ามไปทำให้เสียระเบียบ เช่น รถไฟลักหลีก ทำให้รถ ๒ ขบวนชนกัน.
  • ลิกู    น. ตำแหน่งพระมเหสีที่ ๔ ของกษัตริย์ชวาในวงศ์อสัญแดหวา.
  • ลึก    ว. ต่ำลงไปจากขอบมากกว่าปรกติ เช่น ชามก้นลึก, ไกลต่ำลงไปจากผิวหน้าหรือขอบบน เช่น ทะเลลึก น้ำลึก เหวลึก, ไกลเข้าไปจากขอบเป็นต้น เช่น ป่าลึก ซอยลึก; หยั่งรู้ได้ยาก เช่น ความคิดลึก; ตรงข้ามกับ ตื้น.
  • ลุก    ก. เคลื่อนขึ้นจากท่านั่งหรือท่านอน เช่น ลุกจากเก้าอี้ลุกจากที่นอน, ตั้งขึ้น เช่น ขนลุก; เคลื่อนออกจาก เช่น ลุกแต่สุโขทัย. (จารึกสยาม); ไหม้โพลงขึ้น เช่น ไฟลุก.
  • ลูก    น. ผู้มีกำเนิดจากพ่อแม่ หรือโดยปริยายถือว่ามีฐานะเสมือนลูก, คำที่พ่อแม่เรียกลูกของตนโดยตรง หรือเรียกเด็กอื่นหรือผู้เยาว์กว่าผู้พูดหลายปีด้วยความรู้สึกรักและเอ็นดู เช่น ลูกกินยาเสียซิ, คำที่ลูกใช้แทน
  • กุลีกุจอ    ก. ช่วยจัดช่วยทำอย่างเอาจริงเอาจัง.
  • บงสุกูลิก    น. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร, เป็นชื่อธุดงค์ประการหนึ่งของภิกษุผู้ใช้ผ้าเฉพาะที่เก็บได้จากกองฝุ่นกองหยากเยื่อมาทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม คือ ไม่ใช้ผ้าที่ชาวบ้านถวาย. (ป. ปํสุกูลิก).
  • บังสุกูลิก    (แบบ) น. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร, เป็นชื่อธุดงค์ประการหนึ่งของภิกษุผู้ใช้ผ้าเฉพาะที่เก็บได้จากกองฝุ่นกองหยากเยื่อมาทำเครื่องนุ่งห่ม คือไม่ใช้ผ้าที่ชาวบ้านถวาย. (ป. ปํสุกูลิก).
  • ก.ล.ต.    คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
  • กุมภิล    กุมพิน, -พี (แบบ) น. จระเข้. (ป. กุมฺภีล; ส. กุมฺภีร).