กรรณิการ์ คือ
สัทอักษรสากล: [kan ni kā] การออกเสียง:
"กรรณิการ์" การใช้"กรรณิการ์" อังกฤษ"กรรณิการ์" จีน
ความหมายมือถือ
- น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Nyctanthes arbortristis L. ในวงศ์ Oleaceae ใบคาย ดอกหอม กลีบขาว หลอดดอกสีแสด ใช้ย้อมผ้า, เขียนเป็น กณิการ์ หรือ กรณิการ์ ก็มี.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรณ กัน, กันนะ- น. หู, ใบหู, กลอน ใช้เป็น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือกลีบกาญจ- นปัทม์. ( สมุทรโฆษ ), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกรรณ. ( ส. กรฺณ).
- กรรณิกา กัน- ( แบบ ) น. ดอกไม้ เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. ( สมุทรโฆษ ). ( ส. กรฺณิกา ว่า ฝักบัว, ช่อฟ้า; ป. กณฺณิกา).
- รณ รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
- กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- การ ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
- การวิจารณ์วรรณกรรม งานวิจารณ์วรรณกรรม
- กรณิการ์ กะระ- น. กรรณิการ์.
- การศึกษาวรรณกรรม วรรณคดีศึกษา
- กาลกรรณี กาละกันนี, กานละกันนี, กาละกินี, กานละกินี น. เสนียดจัญไร, ลักษณะที่เป็นอัปมงคล. (ส. กาลกรฺณี; ป. กาลกณฺณี).
- เกี่ยวกับการร่วมมือ สหกรณ์ บ้านอพาร์ทเมนท์ที่ผู้อยู่แต่ละอพาร์ทเมนท์เป็นเจ้าของ ห้องในอพาร์ทเมนท์
- การพรรณา การบรรยาย การบอก การอธิบาย การเล่า
- การรณรงค์ การกระทําการหรือวางแผนเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย
- บรรณาการ บันนากาน น. สิ่งที่ส่งไปให้ด้วยความเคารพนับถือหรือด้วยไมตรี. (ป. ปณฺณาการ; ส. ปรฺณาการ), ในบทประพันธ์ใช้ว่า บรรณา ก็มี.