กรรณยุคล คือ
"กรรณยุคล" อังกฤษ
กันนะ-
น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส. ยุคล ว่า คู่).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรณ กัน, กันนะ- น. หู, ใบหู, กลอน ใช้เป็น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือกลีบกาญจ- นปัทม์. ( สมุทรโฆษ ), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกรรณ. ( ส. กรฺณ).
- รณ รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
- ยุ ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ.
- ยุค ๑ น. แอก. ( ป. , ส. ). ๒ น. คู่, ทั้งสอง. ( ป. , ส. ). ๓ น. คราว, สมัย, เช่น ยุคมืด ยุคหิน; กำหนดเวลาของโลก มี ๔ ยุค. ( ดู จตุรยุค
- ยุคล ว. คู่, ทั้งสอง. ( ป. , ส. ).
- คล คน ( แบบ ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ( ม. คำหลวง กุมาร). ( ป. , ส. ).
- วรรณยุกต์ น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม
- วรรณยุต น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม
- ภาษาที่มีวรรณยุกต์ ภาษาวรรณยุกต์
- ภาษาวรรณยุกต์ ภาษาที่มีวรรณยุกต์
- ระบบวรรณยุกต์ ระบบเสียงวรรณยุกต์
- กรัณย์ กะรัน น. กิจ. ว. อันพึงทำ เช่น ราชกรัณย์. (ป. กรณีย).
- ไหรณย์ -รน น. เงิน. ว. เป็นทอง, ทำด้วยทอง; เป็นเงิน, ทำด้วยเงิน. (ส. ไหรณฺย).