กรรเชียงปู คือ
สัทอักษรสากล: [kan chīeng pū] การออกเสียง:
"กรรเชียงปู" การใช้"กรรเชียงปู" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
กัน-
น. เรียกขาคู่สุดท้ายของปูในวงศ์ Portunidae เช่น ปูม้า ปูทะเล ซึ่งปล้องปลายมีลักษณะแบนคล้ายใบพาย, กระเชียงปู ก็เรียก.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรเชียง กัน- น. เครื่องพุ้ยน้ำให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสำหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกรรเชียง, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี.
- เชีย ( โบ ) ก. ไหว้ เช่น เชียเชิงเจ้าพ่อผัวแม่แง่. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- เชียง ๑ น. คำเรียกเมืองทางภาคพายัพและเหนือขึ้นไป เช่น เชียงใหม่ เชียงราย เชียงตุง. ๒ น. เรียกเครื่องหอมชนิดหนึ่งว่า ชะมดเชียง. ( ดู ชะมดเชียง ).
- ชี ๑ น. นักบวช เช่น ชีปะขาว; คำเรียกหญิงที่นุ่งขาวห่มขาว โกนคิ้วโกนผมถือศีล, แม่ชี ก็เรียก. ( ส. ชี ใช้พูดต้นนามเป็นเครื่องหมายแห่งความยกย่อง). ๒
- ยง ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
- ปู ๑ น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea มีรยางค์ขา ๕ คู่ คู่แรกเป็นก้าม รยางค์ที่ปล้องท้องไม่ใช้ในการว่ายน้ำ มีหลายวงศ์ เช่น
- คนกรรเชียง กรรเชียง คนเลว vt. ไม้กรรเชียง ไม้พาย
- ตีกรรเชียง -กัน- ก. อาการที่นั่งหันหน้าไปทางท้ายเรือแล้วใช้มือเหนี่ยวกรรเชียงพุ้ยน้ำให้เรือแล่นไป, เรียกท่าว่ายน้ำโดยนอนหงายแล้วใช้แขนทั้ง ๒ พุ้ยน้ำให้ตัวเลื่อนไป, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่
- หลักกรรเชียง หลักแจว
- เรือกรรเชียง กรรเชียงเดี่ยว กรรเชียงเดี่ยวที่หางเรือ กรรเชียงเรือ เรือแข่งด้วยกรรเชียง vt.
- ไม้กรรเชียง กรรเชียง คนกรรเชียง คนเลว vt. ไม้พาย
- กรรเชียงเดี่ยว กรรเชียงเดี่ยวที่หางเรือ กรรเชียงเรือ เรือกรรเชียง เรือแข่งด้วยกรรเชียง vt.
- กรรเชียงเรือ กรรเชียงเดี่ยว กรรเชียงเดี่ยวที่หางเรือ เรือกรรเชียง เรือแข่งด้วยกรรเชียง vt. พายเรือ กรรเชียง ตีกรรเชียง