กรรเจียก คือ
กัน-
น. เครื่องประดับหูมีรูปเป็นกระหนก เช่น กรรเจียกซ้อนจอนแก้วแพรวพราว. (อิเหนา). [ข. ตฺรเจียก ว่าหู].
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- เจีย ( ปาก ) ก. ทำให้ผิวโลหะสึก เรียบ โดยวิธีขัดหรือกลึงเป็นต้น.
- จี ว. ตูม เช่น สงวนมิ่งมาลยจาวจี แกล่กล้ำ. ( ทวาทศมาส ), พายัพว่า จี๋.
- ยก ๑ ก. เอาขึ้นให้สูงจากที่เดิมทั้งโดยตรงและโดยปริยาย; เคลื่อนไป, พากันไป, เช่น ยกทัพ ยกพวก; งดเว้น, เพิกถอน, เช่น ยกโทษ ยกภาษี ยกคำสั่ง; มอบ เช่น
- กรรเจียกจอน น. เครื่องประดับหู, เขียนเป็น กรรเจียกจร ก็มี เช่น กรรเจียกจอนจำหลักลายซ้ายขวา. (สังข์ทอง).
- บรรเจิด บัน- ก. เชิดสูงขึ้น, สูงเด่น, เฉิดฉาย. ว. งาม.
- เรือแข่งด้วยกรรเชียง vt. กรรเชียงเดี่ยว กรรเชียงเดี่ยวที่หางเรือ กรรเชียงเรือ เรือกรรเชียง
- เจ้ากรรม น. ผู้เคยมีกรรมมีเวรต่อกันมาแต่ชาติก่อน, เจ้ากรรมนายเวร ก็ว่า. ว. ที่ทำให้ผิดหวังหรือได้รับความเดือดร้อน เช่น รถเจ้ากรรมเกิดเสียขึ้นกลางทางเลยไปไม่ทัน เด็กเจ้ากรรมวิ่งมาชนเกือบหกล้ม. อ. คำกล่าวแสดงค
- กรรเกด กัน- (กลอน) น. การะเกด เช่น จงกลกรรเกดแก้ว กรองมาลย์. (ทวาทศมาส).
- กรรเชอ กัน- (โบ) น. กระเชอ.
- กรรเชียง กัน- น. เครื่องพุ้ยน้ำให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสำหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกรรเชียง, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี.
- กรรเช้า กัน- (โบ) น. กระเช้า.
- กรรเหิม กัน- (โบ; กลอน) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).