กระดูกฝ่าเท้า คือ
สัทอักษรสากล: [kra dūk fā thāo] การออกเสียง:
"กระดูกฝ่าเท้า" การใช้"กระดูกฝ่าเท้า" อังกฤษ"กระดูกฝ่าเท้า" จีน
ความหมายมือถือ
- กระดูกฝ่ามือ
กระดูกนิ้วมือ
กระดูกน่อง
กระดูกสะบัก
กระดูกหน้าแข้ง
กระดูกโคนขา
ขาหน้า
กระดูกต้นแขน
กระดูกสะบ้าหัวเข่า
กระดูกหัวไหล่
กระดูกขาหน้า
กระดูกขาหน้าท่อนล่าง
กระดูกข้อเท้าส่วนบน
กระดูกนิ้วเท้า
กระดูกแขนขา
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระดูก ๑ น. โครงร่างกายมีลักษณะแข็ง, ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครงร่างกาย; เรียกผลไม้ที่มีเนื้อน้อยเช่น มะปรางว่า มะปรางกระดูก. ๒ น. ชื่อโกฐชนิดหนึ่ง
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ระดู น. เลือดประจำเดือนที่ถูกขับถ่ายจากมดลูกออกมาทางช่องคลอด.
- ดู ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี, ศึกษาเล่าเรียน เช่น ดูหนังสือ,
- ฝ่า ๑ น. พื้นของมือและเท้า, มักพูดเข้าคู่กันว่า ฝ่ามือฝ่าเท้า. ๒ ก. กล้าผ่าน (เข้าไปหรือออกมา) หรือฝืนอยู่ในที่อันตราย, ทนรับ, ทนสู้, เช่น
- ฝ่าเท้า n. พื้นด้านอุ้งของเท้า ชื่อพ้อง: อุ้งเท้า, ฝ่าตีน ตัวอย่างการใช้: ส่วนต่างๆ ของร่างกายหนาตั้งแต่ 0.3 ถึง 1 มิลลิเมตร
- เท ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
- เท้า น. ตีน (ใช้ในความสุภาพ), เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้. ก. ยัน เช่น ยืนเอามือเท้าโต๊ะ เอามือเท้าเอว; อ้างถึง เช่น เท้าความ.
- ท้า ก. ชวนขันสู้ เช่น ท้าพนัน ท้ารบ.
- กระดูกฝ่ามือ กระดูกนิ้วมือ กระดูกน่อง กระดูกฝ่าเท้า กระดูกสะบัก กระดูกหน้าแข้ง กระดูกโคนขา ขาหน้า กระดูกต้นแขน กระดูกสะบ้าหัวเข่า กระดูกหัวไหล่ กระดูกขาหน้า กระดูกขาหน้าท่อนล่าง กระดูกข้อเท้าส่วนบน กระดูกนิ้วเท้
- กระดูกข้อเท้า ตาตุ่ม
- กระดูกนิ้วเท้า กระดูกฝ่ามือ กระดูกนิ้วมือ กระดูกน่อง กระดูกฝ่าเท้า กระดูกสะบัก กระดูกหน้าแข้ง กระดูกโคนขา ขาหน้า กระดูกต้นแขน กระดูกสะบ้าหัวเข่า กระดูกหัวไหล่ กระดูกขาหน้า กระดูกขาหน้าท่อนล่าง กระดูกข้อเท้าส่วนบน
- กระจกฝ้า น. กระจกโปร่งแสงคือแสงลอดผ่านได้บ้าง แต่ตาไม่สามารถมองทะลุผ่านไปเห็นวัตถุอีกข้างหนึ่งได้.