เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กระหยิ่มใจ คือ

สัทอักษรสากล: [kra yim jai]  การออกเสียง:
"กระหยิ่มใจ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • กรุ้มกริ่ม
    กริ่ม
    ครึ้มอกครึ้มใจ
    ครึ้มใจ
    อิ่มใจ
    พึงใจ
    ภูมิใจ
    ยินดี
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กระ     ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
  • กระหยิ่ม     ก. กริ่ม คือ ครึ้มใจ, ภูมิใจ, อิ่มใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ยิ้มย่อง เป็น กระหยิ่มยิ้มย่อง. ( แผลงมาจาก ขยิ่ม).
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • หย     หะยะ- น. ม้า. ( ป. , ส. ).
  • ใจ     น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด
  • กระหยด    (โบ; แผลงมาจาก ขยด) ก. ถด, ถอย, เขยิบ, เช่น กระหยดเข้า นางเจ้าแม่ทรงศาสตราชัย. (มโนห์รา).
  • กระหยบ    (โบ) ก. หมอบ เช่น ฟุบกบกระหยบเงียบมิเกรียบไว้. (มโนห์รา); (ถิ่น-ปักษ์ใต้) แอบ, ซ่อน, ซุก.
  • กระหยะ    น. ขยะ เช่น หนึ่งนิทไทรในราษตรี บมิหลับดั่งมี กระหยะแลผงเลือดไร. (อภิไธยโพธิบาทว์). (แผลงมาจาก ขยะ).
  • กระหยัง    (ถิ่น-อีสาน) น. สมุกใส่เครื่องนุ่งห่ม. (ลัทธิ. ภาค ๑๘ ตอน ๑); ภาชนะชนิดหนึ่งคล้ายตะกร้าสำหรับใส่ของ.
  • กระหยับ    (กลอน) ก. ขยับ เช่น มือถือธนูกระหยับลั่น. (รามเกียรติ์ ร. ๑; ไกรทอง; สรรพสิทธิ์). (แผลงมาจาก ขยับ).
  • กระหย่ง    ๑ ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น กระหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น กระหย่งฟาง, กระโหย่ง หย่ง หรือ โหย่ง ก็ว่า. ๒ ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้
  • กระหย่อน    (โบ) ก. ขย้อน คือ อาการขยับขึ้นขยับลง เช่น พระยานั่งอยู่แลกระหย่อนองค์โลดขึ้นทั้งนั้นก็ดี ขึ้นสูงได้ ๑๘ ศอก. (ไตรภูมิ; สรรพสิทธิ์; พงศ. เหนือ), กระย่อน ก็ว่า.
  • กระหย่อม    น. หย่อม คือ หมู่เล็ก ๆ, กองเล็ก ๆ.
  • กระหยาง    ดู กระยาง ๑.