หย คือ
"หย" การใช้
- หย- หะยะ- น. ม้า. (ป., ส.).
- หยี ๑ ก. หรี่ (ใช้แก่ตา) ในคำว่า หยีตา. ว. หรี่, ที่แคบเรียวเล็ก, ในคำว่า ตาหยี. ๒ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Dialium วงศ์ Leguminosae ผลมีเมล็ดเดียว เมื่อแก่เปลือกกรอบสีดำ เนื้อหุ้มเมล็
- หยี่ หฺยี่ (โบ) น. ผ้าพื้นขาวปักด้วยด้ายเป็นดอกดวงต่าง ๆ.
- หยุ หฺยุ (โบ) ว. น่วม, อาการที่อ่อนจนกดบู้ลงได้.
- หยังหยัง ว. งาม. (ช.).
- หยิกหย็อง ก. หยิกเป็นฝอย เช่น ผมหยิกหย็อง.
- หยิบหย่ง ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
- หยุกหยิก ก. ขยุกขยิก.
- หยุดหย่อน ว. เว้นระยะ มักใช้ในประโยคปฏิเสธ เช่น ทำงานไม่หยุดหย่อน คือ ทำงานไม่เว้นระยะ.
- หยุมหยิม ว. จุกจิก เช่น เขาเป็นคนหยุมหยิม. ก. จู้จี้, ชอบถือเอาเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ว่าเป็นเรื่องสำคัญ, เช่น อย่าไปหยุมหยิมกับเขามากนัก.
- หยก ๑ น. หินแก้วมีลักษณะแข็งเป็นสีต่าง ๆ ใช้ทำเครื่องประดับและเครื่องใช้เป็นต้น ถือว่าเป็นของมีราคา. ๒ ก. ยกขึ้นลงค่อย ๆ ในคำว่า หยกเบ็ด.
- หยด ก. ไหลหรือทำให้ไหลหลุดออกมาเป็นหยาด ๆ เช่น น้ำหยด. น. หยาดของเหลวที่ไหลหลุดออกมา เช่น หยดน้ำ หยดหมึก, ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่ไหลหลุดออกมาเช่นนั้น เช่น น้ำหยดหนึ่ง น้ำหมึก ๒ หยด.
- หยัก ก. เฉือนหรือควั่นให้เป็นรอยคอด, ทำให้เป็นรอยเป็นแง่, เช่น หยักไม้. น. รอยควั่น, รอยคอด, เช่น ควั่นหัวเสาให้เป็นหยัก บากไม้ให้เป็นหยัก. ว. คด ๆ งอ ๆ เช่น เขียนเส้นหยัก ๆ.
- หยัง (ถิ่น-อีสาน) ว. อะไร, ทำไม.
- หยัด ก. ยืดเหยียดออก เช่น หยัดกาย; หยดลง, ตกลง, (ใช้แก่น้ำ).
ประโยค
- ทำแบบนี้ก็ทำให้การคัดเลือกเจ้าสาวหยุดชะงักนะซิ
- โอ้ ใจเย็นๆนะ ทำมาเป็นเล่นลิ้นอีก ค่อยๆหยอดก็ได้
- แต่เพียงแค่หลังจากได้เปิดอกคุยแล้วขอให้เขาหยุด
- ตอนนี้เราก็หยุดให้พวกบริสุทธิ์ไม่ต้องเสี่ยงได้
- หย่าร้างกันพร้อมด้วยพวกเรื่องอื้อฉาวและข่าวลือ
- หยุดสร้างเรื่องน่ารังเกียจของนายในวังนี้เสียที
- คุณคิดว่าจะหยุดมันโดยขังผมไว้เหมือนแมลงงั้นหรอ
- เจ้าไม่อยากให้ข้าเป็นซังกุงสูงสุดหย่างนั้นหรือ
- ในวันหยุดที่ผ่านมาเป็นเรื่องช็อคสำหรับเราทุกคน
- เลิกแหย่กันซะทีน่า แทซอง ฉันสบายดี ไม่ต้องห่วงนะ
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3 4 5