กระแอ้ม คือ
- ใช้เข้าคู่กับคำ กระอ้อม เป็น กระอ้อมกระแอ้ม.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระแอ้ ใช้เข้าคู่กับคำ กระอ้อ เป็น กระอ้อกระแอ้.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- แอ ว. เล็ก, อ่อน.
- แอ้ ว. อาการที่แสดงว่าหนักมาก เช่น หนักแอ้ หนักจนหลังแอ้.
- แอ้ม ( ปาก ) ก. กิน เช่น แอ้มขนมหรือยัง, ได้สมประสงค์ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ได้แอ้ม.
- อ้ม ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นเนียม. [ ดู เนียม ๑ (๒) ].
- -กระแอ้ม ใช้เข้าคู่กับคำ กระอ้อม เป็น กระอ้อมกระแอ้ม.
- -กระแอ้ ใช้เข้าคู่กับคำ กระอ้อ เป็น กระอ้อกระแอ้.
- กระอ้อมกระแอ้ม ว. อ้อมแอ้ม, ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด).
- -กระแอด ใช้เข้าคู่กับคำ กระออด เป็น กระออดกระแอด.
- กระแอก ๑ น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้างผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแซง หรือ ประแอก ก็เรียก. ๒ น. อีกา. (ข. แกฺอก).
- กระแอด ใช้เข้าคู่กับคำ กระออด เป็น กระออดกระแอด.
- กระแอบ ดู ตะขาบ ๑. (ข. แกฺอบ).