เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กะตุ๊ก คือ

การออกเสียง:
"กะตุ๊ก" จีน
ความหมายมือถือ
  • ก. ร้องกระแทกเสียงที่ริมหูคนอื่นว่า “กะตุ๊ก” จนหูอื้อ เป็นการล้อกันเล่น เรียกว่า กะตูกที่หู.
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • ตุ     ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
  • ตุ๊     ๑ ว. จ้ำม่ำ, ใช้ประกอบกับคำ อ้วน เป็น อ้วนตุ๊, (มักใช้แก่เด็ก). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. พระ.
  • กะตัก    น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Encrasicholina และ Stolephorus ในวงศ์ Engraulidae รูปร่างยาว กลม หรือแบนข้างเล็กน้อยแล้วแต่ชนิด ปากกว้าง ที่สันท้องระหว่างครีบท้องและครีบก้นมีหนามแหลม ๒-๗ อัน ข้า
  • กะตั้ก    (ปาก) น. กองใหญ่, จำนวนมากมาย, เช่น เขามีเงินเป็นกะตั้ก ๆ.
  • กะตั้ก ๆ    (ปาก) น. กองใหญ่, จำนวนมากมาย, เช่น เขามีเงินเป็นกะตั้ก ๆ.
  • กะติ๊กริก    ว. เริ่มมีเนื้อมีหนังขึ้น (มักใช้แก่เด็ก). ก. จริตจะก้าน, ระริก.
  • กะตูก    ก. ร้องกระแทกเสียงที่ริมหูคนอื่นว่า “กะตุ๊ก” จนหูอื้อ เป็นการล้อกันเล่น เรียกว่า กะตูกที่หู.
  • ปลากะตัก    แองโชวี่ ปลาแองโชวี่ anchoveta
  • กะตังกะติ้ว    ๑ น. น้ำยางที่ได้จากไม้เถาหลายชนิดในวงศ์ Apocynaceae เช่น มวก (Parameria barbata Schum.) กะตังกะติ้ว หรือ คุยช้าง (Willughbeia edulis Roxb.) และ ตังติ้ว (Urceola esculenta Benth.). ๒ น. ชื่อไม้เถาชน
  • กะตรุด    -ตฺรุด (กลอน) น. ตะกรุด เช่น พระกะตรุดเลศเลขลง เลิศแล้ว. (พยุหยาตรา), กะตุด ก็ใช้.
  • กะตอก    (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. กระโถน.
  • กะตัง    น. การขึ้นเกล็ด.
  • กะตังมูตร    -มูด น. ปัสสาวะที่ขึ้นเกล็ดที่ผิวหน้า.
  • กะตังใบ    น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิด ในสกุล Leea วงศ์ Leeaceae คือ ชนิด L. indica (Burm.f.) Merr. ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยรูปไข่ปลายแหลม ดอกเล็ก สีขาวอมเขียว ออกเป็นช่อตามยอด ผลสีเขียว ใบใช้ทำยาได้, กะดังบาย ก็เรียก;