เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กะหน็องกะแหน็ง คือ

สัทอักษรสากล: [ka nǿng ka naeng]  การออกเสียง:
"กะหน็องกะแหน็ง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ว. แปร่ง, ไม่ชัด, ฟังไม่ออก, (ใช้แก่การพูด), หน็องแหน็ง หรือ อีหน็องอีแหน็ง ก็ว่า.
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • หน     น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
  • อง     น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
  • งก     ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
  • แห     ๑ น. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อย ๆ ดึงขึ้นมา. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน ) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง. ๓ (
  • แหน     ๑ แหนฺ ก. ใช้เข้าคู่กับคำอื่น ในคำว่า หวงแหน แห่แหน เฝ้าแหน. ๒ แหนฺ ( ถิ่น-อีสาน ) น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์
  • กะหนอกะแหน    -หฺนอ-แหฺน ว. เสียงพูดอย่างน่าเอ็นดูเหมือนเสียงเด็กพูด.
  • กะหนุงกะหนิง    ว. เสียงพูดจู๋จี๋ระหว่างคู่รักเป็นต้น.
  • กะง้องกะแง้ง    (ถิ่น-พายัพ) ว. คดไปคดมา, งอไปงอมา.
  • กะพร่องกะแพร่ง    -พฺร่อง-แพฺร่ง ว. ขาด ๆ วิ่น ๆ, มีบ้างขาดบ้าง, ไม่สม่ำเสมอ; ไม่เต็มที่, ไม่ครบถ้วน, ไม่พอเพียง, (ตามที่คาดหมายไว้).
  • กะร่องกะแร่ง    ว. ร่องแร่ง, ติดห้อยอยู่นิด ๆ หน่อย ๆ, ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, ไม่สมบูรณ์.
  • กะหนะ    น. ทางของต้นจากที่ใช้กรุฝา.
  • กะหร็อมกะแหร็ม    ว. มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น ผมขึ้นกะหร็อมกะแหร็ม, หร็อมแหร็ม หรือ หย็อมแหย็ม ก็ว่า.
  • กะแหะ    ก. แหะ ๆ.
  • กะระหนะ    น. ชื่อเพลงไทยของเก่า เป็นเพลงเครื่องสายประสมปี่พาทย์ ทำตอนชมสวนหรือเล่นสนุก เช่น ในเรื่องอิเหนาตอนอุณากรรณเล่นมโหรีกับพวกในสวนดอกไม้เมืองกาหลัง.