เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ขัชกะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ขัด, ขัดชะกะ
    (แบบ) น. อาหารควรเคี้ยว เช่น ตั้งขัชกโภชนาหาร. (ม. ร่ายยาว ชูชก). (ป. ขชฺช, ขชฺชก).
  • ขัช     ขัด, ขัดชะกะ ( แบบ ) น. อาหารควรเคี้ยว เช่น ตั้งขัชกโภชนาหาร. ( ม. ร่ายยาว ชูชก). ( ป. ขชฺช, ขชฺชก).
  • ชก     ก. ต่อยด้วยหมัดหรือกำปั้น.
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • ปูชกะ    -ชะกะ น. ผู้บูชา. (ป., ส.).
  • ยาชกะ    -ชะกะ น. ผู้ที่ทำพิธีบูชาหรือพิธีบวงสรวงแทนผู้อื่น. (ป., ส.).
  • รชกะ    ระชะกะ น. คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. (ป., ส.).
  • รัชกะ    น. รชกะ, คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. (ป., ส.).
  • วาณิชกะ    วานิด, วานิดชะ- น. พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น พ่อค้าวาณิช. (ป., ส.).
  • โยชกะ    โยชะกะ ก. ผู้ทำการประกอบ, ผู้ใช้, ผู้ผูก, ผู้จัด, ผู้เตรียม. (ส.).
  • ขึ้นชก    ชก ต่อย ชกมวย ต่อยมวย ดวลกำปั้น ขึ้นสังเวียน
  • กะทิขูด    ดู สีกรุด.
  • ขู่กรรโชก    ก. ทำให้กลัวโดยแสดงกิริยาอาการจะทำร้าย.
  • ขู่กระโชก    v. ทำให้กลัว, ทำให้ตกใจ , ชื่อพ้อง: กรรโชก ตัวอย่างการใช้: เขาขู่กระโชกให้เธอยินยอมเขา
  • ข้อราชการ    น. เรื่องราชการ.
  • ข้าราชการ    น. (โบ) คนที่ทำราชการตามทำเนียบ; ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการ; (กฎ) บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้ารา