ขั้วแม่เหล็กโลก คือ
- น. เรียกบริเวณที่มีแรงแม่เหล็กโลกมากที่สุดทางซีกโลกเหนือและใต้ว่า ขั้วแม่เหล็กโลกเหนือ ขั้วแม่เหล็กโลกใต้.
- ขั้ว น. ส่วนที่ต่อของก้านดอกไม้ ใบไม้ ผลไม้ และอื่น ๆ.
- ขั้วแม่เหล็ก น. บริเวณที่ตัวแท่งแม่เหล็กซึ่งมีแรงแม่เหล็กมากที่สุด โดยปรกติบริเวณดังกล่าวจะอยู่ใกล้ปลายทั้ง ๒ ของแท่งแม่เหล็ก, ถ้าชี้ไปทางทิศเหนือ เรียกว่า
- แม่ น. หญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คำที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูตน;
- แม่เหล็ก น. แร่หรือโลหะที่มีสมบัติดูดเหล็กได้.
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- เหล็ก น. ธาตุลำดับที่ ๒๖ สัญลักษณ์ Fe เป็นโลหะลักษณะเป็นของแข็งสีขาวเป็นเงาคล้ายเงิน หลอมละลายที่ ๑๕๓๖ °ซ. ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ทำเหล็กหล่อ
- โล กิโลกรัม กก. กิโล ก.ม. กม. กิโลเมตร กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง ก.ก.
- โลก โลก, โลกะ-, โลกกะ- น. แผ่นดิน, โดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ เช่น ให้โลกนิยม; ส่วนหนึ่งแห่งสกลจักรวาล เช่น มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก โลกพระอังคาร; (
- ลก ว. หก; ( โบ ) เรียกลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลก, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า อก.
- เหลวแหลก -แหฺลก ว. ป่นปี้, ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน; เละเทะ; เป็นที่น่ารังเกียจ เช่น มีความประพฤติเหลวแหลก ชีวิตเหลวแหลก.
- ซีกโลก n. ด้านหนึ่งของโลก ตัวอย่างการใช้: ประเทศไทยอยู่ทางซีกโลกตะวันออก clf.: ซีก
- รกโลก ไร้ค่า ไร้ประโยชน์
- ลูกโลก น. หุ่นจำลองของโลกที่ทำขึ้นเพื่อใช้แสดงรูปทรงสัณฐานของโลก มีแผนที่แสดงตำแหน่งต่าง ๆ บนพื้นโลก ทำด้วยกระดาษ โลหะ หรือพลาสติก เป็นต้น.
- กลมเหมือนลูกโลก ซึ่งมีทรงกลม
- นอกโลก ต่างดาว อวกาศ