เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เห คือ

สัทอักษรสากล: [hē]  การออกเสียง:
"เห" การใช้"เห" อังกฤษ"เห" จีน
ความหมายมือถือ
  • ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
  • เห่    น. ทำนองที่ใช้ร้องในบางพระราชพิธี, ถ้าใช้ร้องเมื่อเวลาพายเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรียกว่า เห่เรือ, ถ้าใช้ร้องในพระราชพิธีขึ้นพระอู่พระเจ้าลูกเธอ เรียกว่า เห่กล่อม; คำสั่งที่เขียนไว้
  • เหินเห่อ    ก. ค้างเติ่ง.
  • เหิมเห่อ    ว. มีใจกำเริบทะเยอทะยาน, เห่อเหิม ก็ว่า.
  • เห่อเหิม    ว. มีใจกำเริบทะเยอทะยาน, เหิมเห่อ ก็ว่า.
  • เหง    เหงฺ ก. ข่ม, มักใช้เข้าคู่กับคำ ข่ม เป็น ข่มเหง.
  • เหติ    น. อาวุธ, เครื่องรบ. (ป., ส.).
  • เหตุ    เหด น. สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล, เค้ามูล, เรื่อง; เหตุผล. สัน. ด้วย, เพราะ. (ป., ส.).
  • เหม    เหมะ- น. ทองคำ; ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า เหมหัตถี กายสีเหลืองดั่งทอง. (ดู กาฬาวก). (ป.); เรียกฝาหีบหรือภาชนะบางอย่างซึ่งมียอดแหลมปิดทอง; เรียกส่วนยอดปราสาทที่อยู่ระหว่างบัลลังก์กับบัวก
  • เหม-    เหมะ- น. ทองคำ; ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า เหมหัตถี กายสีเหลืองดั่งทอง. (ดู กาฬาวก). (ป.); เรียกฝาหีบหรือภาชนะบางอย่างซึ่งมียอดแหลมปิดทอง; เรียกส่วนยอดปราสาทที่อยู่ระหว่างบัลลังก์กับบัวก
  • เหม่    เหฺม่ (กลอน) อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความโกรธเพื่อขู่หรือตวาด, อุเหม่ ก็ว่า. ว. เสียงดังเช่นนั้น แสดงความโกรธ.
  • เหย    เหฺย ว. เบ้ (ใช้แก่หน้า).
  • เหล่    ว. เขมาก (ใช้แก่ตา).
  • เหว    เหวฺ น. ช่องลึกลงไปในภูเขา, ช่องลึกหว่างเขา.
  • เหว่    เหฺว่ ว. เปล่า, เปลี่ยว, เช่น เหว่ใจ.
  • เหะ    ว. เละ ใช้แก่กริยาเมา ในคำว่า เมาเหะ.
ประโยค
  • คือหมายความว่าบางทีเราก็ควรจะกลัวด้วยเหมือนกัน
  • เหมือนอย่างที่ลูกอารมณ์เสียตอนมื้อค่ำคืนก่อนไง
  • ฉันแน่ใจเ๊ธอสามารถหาบทลงโทษที่เหมาะสมให้เขาได้
  • มันก็ไม่เห็นเป็นไรเลยที่จะสงสัยในแบบที่คุณเป็น
  • ที่คุณหาคนในกลุ่มคนเพื่อที่มีความสนในเหตุการณ์
  • ที่เห็นด้วยคราวนี้เป็นเพราะพ่อเธอก็อายุมากขึ้น
  • พี่นี่ใจดีมาก ๆ เลยนะ อยากให้พวกเขามีความสุขเหรอ
  • เห็นไหม ข้าไม่ได้โหดร้ายและเลวทรามอย่างที่เห็น *
  • เห็นไหม ข้าไม่ได้โหดร้ายและเลวทรามอย่างที่เห็น *
  • ประโยคโหลๆ ก็คือ ปราศจากร่างกาย ก็เหลือแต่วิญญาณ
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5