ขาเขยก คือ
"ขาเขยก" อังกฤษ
- ขา ๑ น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า);
- เข ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เขย น. ชายที่มาแต่งงานกับญาติผู้หญิง, ผัวของญาติ, เช่น ถ้าเป็นผัวของลูกสาว เรียก ลูกเขย ถ้าเป็นผัวของป้า เรียก ลุงเขย.
- เขยก ขะเหฺยก ก. อาการที่เดินหรือวิ่งด้วยปลายเท้าอย่างคนเท้าเจ็บ, อาการที่เดินหรือวิ่งเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งอย่างคนขาพิการ.
- ขย ขะยะ- ( แบบ ) น. ความสิ้นไป, ความเสื่อมไป, โดยมากใช้ในสมาส เช่น ขยธรรม อาสวักขยญาณ, ถ้าใช้โดด ๆ หรือเป็นคำท้ายสมาส เป็น ขัย เช่น อายุขัย. ( ป.
- ยก ๑ ก. เอาขึ้นให้สูงจากที่เดิมทั้งโดยตรงและโดยปริยาย; เคลื่อนไป, พากันไป, เช่น ยกทัพ ยกพวก; งดเว้น, เพิกถอน, เช่น ยกโทษ ยกภาษี ยกคำสั่ง; มอบ เช่น
- โขยกเขยก -ขะเหฺยก ว. กะโผลกกะเผลก.
- น้าเขย คุณน้า คุณลุง คุณอา น้าผู้ชาย ผู้ให้กำลังใจ ลุง อาผู้ชาย อาเขย
- อาเขย คุณน้า คุณลุง คุณอา น้าผู้ชาย น้าเขย ผู้ให้กำลังใจ ลุง อาผู้ชาย
- ขโยกเขยก กะโผลกกะเผลก
- เดินโขยกเขยก เดินกระโผลกกระเผลก เดินปวกเปียก เดินโซซัดโซเซ เดินกะโผลกกะเผลก
- เต๋าเขย่า น. ขลุกขลิก. (ดู ขลุกขลิก).
- ขาเขียด น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Monochoria vaginalis (Burm.f.) Kunth ในวงศ์ Pontederiaceae ดอกสีม่วงน้ำเงิน เกิดในน้ำและปลักตม กินได้.
- ขาเข้า 1) adj. ที่เข้าสู่ข้างใน, ซึ่งเข้ามาสายข้างใน คำตรงข้าม: ขาออก ตัวอย่างการใช้: ฉันเห็นรถเมล์ขาเข้าตอนเช้าๆ จะมีคนแน่นมาก 2) n. เที่ยวที่เข้าสู่ในประเทศ คำตรงข้าม: ขาออก ต
- เจ้าเขา นเคนทร์