เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

คำสมาส คือ

สัทอักษรสากล: [kham sa māt]  การออกเสียง:
"คำสมาส" การใช้"คำสมาส" อังกฤษ"คำสมาส" จีน
ความหมายมือถือ
  • n.
    คำที่ประกอบขึ้นด้วยคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปมารวมกัน
    ตัวอย่างการใช้: คำว่า วัฒนธรรม เป็นคำสมาสระหว่างภาษาบาลีกับสันสกฤต
  • คำ     ๑ น. ทองคำ เช่น หอคำ เชียงคำ. ๒ น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด
  • สม     ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
  • สมา     ๑ สะมา ก. ขมา. ๒ สะมา น. ปี. ( ป. , ส. ).
  • สมาส     สะหฺมาด น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ +
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • มาส     ๑ น. พระจันทร์, เดือน. ( ป. , ส. ). ๒ ดู ราชมาษ, ราชมาส .
  • ทำสมาธิ    ภาวนา ตั้งสมาธิ ทำสมาธิเจริญภาวนา
  • คำสั่งสอนศาสนา    ความเชื่อ ธรรมะ ลัทธิ
  • คำสบประมาท    คำเยาะเย้ย
  • มีคำสนทนามาก    ชอบเจรจา ช่างคุย ช่างพูด ปากจัด ปากมาก พูดมาก โว
  • คำสดุดี    คำสรรเสริญ เพลงสดุด
  • คำสบถ    n. คำพูดหรือคำด่าที่หลุดปากออกมาเพื่อแสดงความรู้สึก ตัวอย่างการใช้: เขาชอบหลุดคำสบถที่หยาบคายออกมาบ่อยๆ จนติดเป็นนิสัยไปซะแล้ว clf.: คำ
  • คำสรุป    บทสรุปของคำปราศรัย
  • คำสร้อย    น. คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมาย หรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นาเฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ.
  • คำสลัก    ความเท็จ v ชาดก ตารางอธิบายบนแผนที่แผนภูมิ นิทานสั้น ผู้เป็นตัวเอกของเรื่อง