จตุรเวท คือ
จะตุระเวด, จะตุระเพด
น. ชื่อคัมภีร์พระเวท ๔ คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ในยุคพระเวท คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอถรรพเวทหรืออาถรรพเวท. (ดู เวท, เวท-).
- จตุ จะตุ- ว. สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลี. ( ป. ).
- จตุร จะตุระ- ว. สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต. ( ส. ; ป. จตุ).
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- เวท เวด, เวทะ- น. ความรู้, ความรู้ทางศาสนา; ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์หรือคาถาอาคม เมื่อนำมาเสกเป่าหรือบริกรรมตามลัทธิวิธีที่มีกำหนดไว้
- วท สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
- ธนุรเวท ทะนุระ- น. วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. (ส.). (ดู อุปเวท ประกอบ).
- ยชุรเวท ยะชุระ- น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ ของพระเวท กล่าวถึงพิธีบูชาสำคัญหลายพิธี เช่น พิธีราชสูยะ พิธีอัศวเมธ รายละเอียดในการประกอบพิธีและเรื่องเล่าแต่งเป็นร้อยแก้ว ส่วนบทสวดเป็นฉันท์นำมาจากฤคเวท. (ส.). (ดู เวท,
- อายุรเวท น. วิชาแพทย์, วิชาที่เกี่ยวกับสุขภาพและการรักษา. (ถือกันว่าเป็นวิชาศักดิ์สิทธิ์และเป็นส่วนหนึ่งของอถรรพเวท). (ส.).
- เวท- เวด, เวทะ- น. ความรู้, ความรู้ทางศาสนา; ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์หรือคาถาอาคม เมื่อนำมาเสกเป่าหรือบริกรรมตามลัทธิวิธีที่มีกำหนดไว้ สามารถให้ร้ายหรือดี หรือป้องกันอันตรายต่าง ๆ ตามคติไสยศ
- เวทิ น. ที่ที่ยกขึ้นให้สูงใช้เป็นที่ทำการสักการบูชา, แท่นบูชา; ยกพื้นสำหรับเล่นละครและอื่น ๆ เช่น เวทีละคร เวทีมวย. (ป., ส.).
- เวที ๑ น. ที่ที่ยกขึ้นให้สูงใช้เป็นที่ทำการสักการบูชา, แท่นบูชา; ยกพื้นสำหรับเล่นละครและอื่น ๆ เช่น เวทีละคร เวทีมวย. (ป., ส.). ๒ น. ผู้รู้, นักปราชญ์. (ป.; ส. เวทินฺ).
- คณะละครเวที คณะละคร คณะละคอน
- จตุรเพท จะตุระเวด, จะตุระเพด น. ชื่อคัมภีร์พระเวท ๔ คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ในยุคพระเวท คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอถรรพเวทหรืออาถรรพเวท. (ดู เวท, เวท-).
- กตเวที กะตะ- ว. (ผู้) ประกาศคุณท่าน, (ผู้) สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ].
- พื้นเวที n. พื้นของสิ่งที่ยกพื้นขึ้นสูงเพื่อการแสดงต่างๆ เป็นต้น ตัวอย่างการใช้: ถ้านั่งอยู่ชั้นบนจะเห็นพื้นเวทีทั้งหมดอย่างชัดเจน