จรกลู่ คือ
จอระกฺลู่
(กลอน) ก. เที่ยวลอยเกลื่อนกลาดอยู่ เช่น จรกลู่ขึ้นกลางโพยมากาศ. (ม. คำหลวง ทศพร).
- จร ๑ จอน, จอระ-, จะระ- ว. ไม่ใช่ประจำ เช่น คนจร รถจร, แทรกแปลกเข้ามา เช่น โรคจร ลมจร. ก. ไป, เที่ยวไป; ประพฤติ. ( ป. , ส. ),
- จรก จะรก น. ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินไป. ( ป. , ส. ).
- รก ๑ ว. ที่กระจัดกระจายอยู่เกลื่อนกลาดไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น ทิ้งกระดาษไว้รกบ้าน,
- กล กน, กนละ- น. การลวงหรือล่อลวงให้หลงหรือให้เข้าใจผิดเพื่อให้ฉงนหรือเสียเปรียบ เช่น เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม เช่น กลโกง;
- กลู่ กฺลู่ ( โบ ; กลอน ) ก. เกลื่อน, ใช้เข้าคู่กับคำ กลาด เช่น โกยกลู่กลาดคือลาญใน. ( ม. คำหลวง จุลพน).
- ลู่ ๑ น. ทาง, แนว, ช่อง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทาง เป็น ลู่ทาง, ในทางกีฬาหมายถึงทางวิ่งเป็นแนวเป็นช่อง เช่น วิ่งในลู่ที่ ๑, คู่กับ ลาน. ๒ ก.
- การกล่าวเกินจริง การกล่าวบิดเบือน
- พนจรก พะนะจอน, พะนะจะรก น. ชาวป่า, พรานป่า. (ป., ส. วนจร, วนจรก).
- วนจรก วะนะจอน, วะนะจะรก น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.).
- แจรก แจฺรก (กลอน) ก. แจก, แตกออก, กระจายออก, แยกออก.
- กลุ่มโจร กลุ่มคนร้าย แก๊ง พวกมิจฉาชีพ
- จักรกล n. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้สิ่งอื่นดำเนินไปได้ ตัวอย่างการใช้: ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา การส่งออกเป็นจักรกลสำคัญในการนำเศรษฐกิจของไทย
- โจรกรรม โจระกำ, โจนระกำ น. การลัก, การขโมย, การปล้น. (ส.; ป. โจรกมฺม).
- จระกล้าย จะระ- (กลอน) ก. วางเฉย, อยู่เฉย, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย, โบราณเขียนเป็น จรกล้าย ก็มี เช่น เออาศนไอสูรยเสีย จรกล้าย. (ยวนพ่าย), แล้วก็น่งงเยียม่งง ช่งงอยู่จรกล้าย ว่าเถ้าร้ายฤๅจะรู้กล. (ม. คำหลวง กุมา
- วิกลจริต วิกนจะหฺริด ว. มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า.