จำบ่ม คือ
- ว. ผลไม้ที่แก่ยังไม่ได้ที่ เก็บเอามาบ่มให้สุก เรียกว่า ผลไม้จำบ่ม เช่น มะม่วงจำบ่ม.
- จำ ๑ ก. กำหนดไว้ในใจ, ระลึกได้, เช่น จำหน้าได้. ๒ ก. ลงโทษด้วยวิธีเอาโซ่ตรวนล่ามไว้ เช่น จำโซ่ จำตรวน, ลงโทษด้วยวิธีขัง เช่น จำคุก. ๓ ก.
- บ่ บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ เมื่อใช้ว่า บ่ ก็มีความเช่นเดียวกัน.
- บ่ม ก. ทำให้สุกหรือให้แห้งด้วยความอบอุ่น เช่น บ่มผลไม้ บ่มใบยา; โดยปริยายหมายความว่า สั่งสมอบรมให้สมบูรณ์ ในคำว่า บ่มบารมี บ่มนิสัย.
- จำบัง ๑ ก. รบ เช่น คชจำบังข้าศึก. (ตะเลงพ่าย). น. ศึก, สงคราม; นักรบ. (จารึกสยาม). (ข. จํบาง, จมฺบำง ว่า การรบ, สงคราม). ๒ ก. กำบังกาย, หายตัวไป, เช่น โจนจำบับจำบัง. (ม. คำหลวง มหาราช).
- จำบับ ก. จับ เช่น โจนจำบับจำบัง. (ม. คำหลวง มหาราช). (ข. จํบาบ่ ว่า การปล้ำกัน, การประสานมือกัน).
- จำเดิม บ. แต่ต้น, เริ่มแรก, แรก.
- มัดจำ (กฎ) น. สิ่งที่ให้ไว้เพื่อเป็นพยานหลักฐานว่าได้มีการทำสัญญากันขึ้นแล้ว และเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานั้นด้วย.
- ยาสามัญประจำบ้าน (กฎ) น. ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน.
- ไม่มีจำกัด สุดสายตา ไม่ถูกควบคุม ไม่มีขอบเขต ไร้ขอบเขต
- มีความลำบาก มีน้ำหนักมาก
- จำนวนเต็ม (คณิต) น. จำนวนที่เป็นจำนวนนับ, จำนวนนับติดเครื่องหมายลบหรือศูนย์.
- มีข้อจำกัด ปรับอากาศ มีข้อแม้
- มีเขตจำกัด มีขอบเขต ไม่ใช่ศูนย์ ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไปจนวัดไม่ได้
- ลำบุ (โบ) น. ปืนใหญ่, เขียนเป็น ละบู ก็มี.
- ผู้มีรายได้ประจำ n. ผู้หาเลี้ยงชีพตัวเองได้ โดยมีรายรับประจำเดือน ตัวอย่างการใช้: การสร้างชุมชนให้เข้มแข็งหมายความว่า การสร้างคนในชุมชนมีอาชีพ เป็นผู้มีรายได้ประจำ เพื่อทำให้ครอบครัวอบอุ่นไม่มีปัญหา และเ