จ๊ะจ๋า คือ
"จ๊ะจ๋า" การใช้
- ว. เรียกอาการที่เด็กเริ่มหัดพูดพูดอย่างน่ารักน่าเอ็นดู เช่น ลูกฉันเริ่มหัดพูดจ๊ะจ๋าแล้ว.
ก. อาการที่คู่รักพูดคุยกันอย่างมีความสุข เช่น สองคนนั้นเขากำลังจ๊ะจ๋ากันอยู่ อย่าไปกวนเขา.
- จ๊ะ ๑ ว. คำต่อท้ายคำเชิญชวนหลังคำ “นะ” หรือ “ซิ” เช่น ไปนะจ๊ะ เชิญซิจ๊ะ หรือต่อท้ายคำถามเป็นต้น เช่น อะไรจ๊ะ. ๒ ก. เจอกันหรือพ้องกันโดยบังเอิญ
- จ๋า ว. คำขานรับ; คำลงท้ายคำร้องเรียก เช่น หนูจ๋า.
- กระจ่า น. เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้าว ทำด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ, จวัก จ่า หรือ ตวัก ก็ว่า.
- จะจ้า ว. เสียงร้องไห้.
- ประจํา บ่อย เป็นนิตย์ เสมอ ทุกครั้ง บ่อยๆ เป็นอาจิณ เสมอๆ นิจสิน ปกติ สม่ําเสมอ เป็นกิจวัตร เป็นนิจ เป็นปกติ ประจําการ ธรรมดา
- จ่า ๑ น. หัวหน้า, หัวโจก, เช่น จ่าฝูง จ่าโขลง; ยศทหารและตำรวจชั้นประทวน เช่น จ่าตรี จ่าสิบตำรวจ, บรรดาศักดิ์ในราชสำนัก เช่น จ่าแผลงฤทธิรอนราญ จ่าเร่งงานรัดรุด, ตำแหน่งหัวหน้าธุรการบางอย่าง เช่น จ่าศาล;
- จ้า ว. จัด, ยิ่ง, แรง, (ใช้แก่สี แสง หรือเสียง) เช่น สีจ้า แสงจ้า.
- จ้ํา รอยช้ํา รอยฟกช้ําดําเขียว กระวีกระวาด กุลีกุจอ ผลุนผลัน รีบเร่ง
- จํา จําไว้ อย่าลืม จดจํา จําได้ ทบทวน ระลึก รําลึก หวนคิด
- จังก้า ว. ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้, ลักษณะที่ตั้งปืนกลเป็นต้นเตรียมพร้อมที่จะยิง.
- จังหน้า ว. เต็มหน้า, เต็มที่, เช่น เจอเข้าจังหน้า โดนเข้าจังหน้า.
- จัดจ้า ว. สว่างมาก, มีแสงกล้า.
- จัดท่า v. กำหนดลักษณะท่าทางของร่างกายให้อยู่ในอิริยาบถต่างๆ ชื่อพ้อง: จัดท่าทาง, จัดท่าจัดทาง ตัวอย่างการใช้: ช่างกล้องจัดท่าให้นางแบบมือใหม่เสียนานก่อนจะเริ่มถ่ายได้
- จัดทํา คิด ประดิษฐ์ สร้าง รังสรรค์ สร้างสรรค์ ทํา ผลิต ตีพิมพ์เพื่อจําหน่ายหรือแจก พิมพ์ออกมา ตีพิมพ์ พิมพ์
- จัดว่า ถือว่า นัยว่า ยอมรับว่า
ประโยค
- เพราะคุณจะไม่ได้จ๊ะจ๋า เร็วๆนี้เพราะ
- ยูซังกุงเพิ่งจ๊ะจ๋ากับเจ้าเนี่ยนะ
- กิจกรรมนิทานคุณหนูและศิลปะประดิษฐ์ ละครนิทาน เรื่อง จ๊ะจ๋า น่าฟัง