ฉายานาม คือ
"ฉายานาม" อังกฤษ"ฉายานาม" จีน
- n.
ชื่อตั้งให้กันเล่นๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ
ชื่อพ้อง: สมญานาม
ตัวอย่างการใช้: เพื่อนๆ ตั้งฉายานามให้เขาว่า ไอ้บาก เพราะรอยแผลที่เป็นทางยาวบนหน้าของเขา
clf.: ฉายา
- ฉาย ๑ น. เงา, ที่ร่ม; ราชาศัพท์เรียกกระจกส่องหน้าว่า พระฉาย. ( ป. , ส. ฉายา). ๒ ก. ส่องแสงออกไป; ( ปาก ) กรายให้เห็น เช่น
- ฉายา ๑ น. เงา, ร่มไม้. ( ป. ); ชื่อที่พระอุปัชฌาย์ตั้งให้เป็นภาษาบาลีเมื่ออุปสมบท, ชื่อตั้งให้กันเล่น ๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ. ( ป. ,
- ยา น. สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบำรุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาน้ำ เรียกตามสีก็มี เช่น ยาแดง
- ยาน ๑ น. เครื่องนำไป, พาหนะต่าง ๆ เช่น รถ เกวียน เรือ, มักใช้เข้าคู่กับคำ พาหนะ เป็น ยานพาหนะ. ( ป. , ส. ). ๒ ว.
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- นาม นามมะ- น. ชื่อ, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนาม; คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ สำหรับเรียกคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ; สิ่งที่ไม่ใช่รูป คือ จิตใจ, คู่กับ รูป. ( ป.
- ความพยายามอันยาวนาน ความอาฆาตแค้นส่วนตัวหรือระหว่างตระกูล
- ให้ฉายา ตั้งฉายา ตั้งชื่อเล่น
- มิจฉาวายามะ น. ความพยายามผิด. (ป.).
- ตั้งฉายา v. ตั้งชื่อให้กันเล่นๆ หรือตามลักษณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ ชื่อพ้อง: ให้ฉายา ตัวอย่างการใช้: พวกเราช่วยกันตั้งฉายาให้กับคุณครูทุกคนในโรงเรียน
- ขยายอํานาจ แผ่อํานาจ แสดงอํานาจ
- พยายามให้อํานาจเหนือคนอื่น พยายามข่มคนอื่น
- งามฉาย งามงอน งามพริ้ง งามลออ งามสะคราญ ไฉไล
- ฉายาลักษณ์ (ราชา) น. รูปถ่าย.
- พยายามทําน้อยลง ทํางานน้อยลง