เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชะดีชะร้าย คือ

สัทอักษรสากล: [cha dī cha rāi]  การออกเสียง:
"ชะดีชะร้าย" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • (ปาก) ว. เผื่อว่า, บางทีแสดงถึงความไม่แน่นอน, โดยปรกติมักใช้ในลักษณะเหตุการณ์ที่สังหรณ์หรือกริ่งเกรงว่าอาจจะเกิดขึ้นตามที่คาดไว้.
  • ชะ     ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
  • ดี     ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
  • ร้า     ๑ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง รูปคล้ายนกยาง, มักเรียกกันว่า อีร้า. ( พจน. ๒๔๙๓). ๒ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทำด้วยปลาหมักเกลือ เรียกว่า ปลาร้า;
  • ร้าย     ว. ดุ เช่น ใจร้าย, ชั่ว เช่น ปากร้าย คนร้าย, ไม่ดี เช่น เคราะห์ร้าย โชคร้าย ชะตาร้าย; ที่เป็นอันตราย เช่น พิษร้าย เนื้อร้าย โรคร้าย. น.
  • ชะรอย    ว. เห็นจะ, เห็นทีจะ, ท่าจะ, บางที, ในบทกลอนใช้ว่า รอย ก็มี.
  • ชะรำเงิน    จ่าย ทำให้กระจายตัว
  • ชะตาร้าย    คราวร้าย ตาร้าย
  • ชะม้ายตา    ชายตา ชําเลือง มอง ลอบมอง เล่นตา เล่นหูเล่นตา
  • ชะชะ    อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะช้า หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
  • ชะนีร่ายไม้    น. ท่าละครท่าหนึ่ง.
  • ชะนี    ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Hylobatidae แขนยาวมาก ไม่มีหาง ขนยาวนุ่ม เดินตัวตั้งตรงได้ ห้อยโหนอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ ร้องเสียงดัง เสียงร้องแสดงถึงอาณาเขตของแต่ละคู่ แต่ละชนิดมีเสียงร้องไม่เหมือน
  • ชิชะ    อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.
  • ทิชะ    ทิชะ- (แบบ) น. ผู้เกิด ๒ ครั้ง คือ นก และพราหมณ์. (ป., ส. ทฺวิช).
  • ธชะ    (แบบ) น. ธง. (ป.).
  • ภุชะ    พุด, พุชะ ก. กิน. (ป., ส.).