ชะฉ่า คือ
- ว. เสียงลูกคู่ที่รับเพลงปรบไก่.
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- ฉ่า ว. เสียงน้ำมันเดือดเมื่อเวลาทอดของ; เสียงลูกคู่เพลงร้องรับจังหวะพ่อเพลงแม่เพลง; เสียงอื้ออึง เช่น จะชุมฉ่าชายจะมาก. ( ม. ร่ายยาว ชูชก);
- ชะง้ํา ชะง่อน
- ชะช้า อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะ ชะชะ หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
- ชะต้า (แบบ) อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือชอบใจ เช่น ชะต้าเขาเป็นหญิงยังทำได้. (ขุนช้างขุนแผน-แจ้ง), ใช้ว่า ฉะต้า ก็มี.
- ชะล่า ๑ น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ท้องแบน หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย หัวตัดท้ายตัด มีขนาดยาวมาก. ๒ ก. เหิมใจ, ได้ใจ, กำเริบ, กล้าล่วงเกิน.
- เต้นชะชะช่า เต้นจังหวะชะชะช่า
- เรือชะล่า น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ท้องแบน หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย หัวตัดท้ายตัด มีขนาดยาวมาก.
- ชะล้างด้วยน้ํา ล้างออกด้วยน้ํา
- ฉะฉี่ (กลอน) ว. ฉี่, เสียงดังอย่างเสียงของที่ทอดน้ำมัน.
- เต้นจังหวะชะชะช่า เต้นชะชะช่า
- ชะชะ อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะช้า หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
- กระฉง น. ชื่อแมลงประเภทมวนพวกหนึ่ง ดูดกินเมล็ดอ่อนบนรวงข้าว ทำให้ข้าวลีบ ลำตัวแคบยาวประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร สีน้ำตาล, ในสกุล Leptocorisa วงศ์ Alydidae มี ๕-๖ ชนิดด้วยกัน ที่สำคัญ ได้แก่ ชนิด L. varicornis แล
- กระฉิ่ง น. เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง. (ดู กรรชิง).
- กระฉีก น. ของหวานทำด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด กวนกับน้ำตาลปึกให้เข้ากัน อบด้วยควันเทียนให้หอม ใช้เป็นไส้หรือหน้าขนม เรียกว่า หน้ากระฉีก เช่น ขนมใส่ไส้ มีไส้เป็นหน้ากระฉีก ข้าวเหนียวหน้ากระฉีก.