ชะต้า คือ
- (แบบ) อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือชอบใจ เช่น ชะต้าเขาเป็นหญิงยังทำได้. (ขุนช้างขุนแผน-แจ้ง), ใช้ว่า ฉะต้า ก็มี.
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- ชะตา น. ลักษณะหรืออัธยาศัยบางอย่างที่ทำให้รู้สึกชอบหรือไม่ชอบในทันทีทันใด เช่น ถูกชะตากัน ไม่ถูกชะตากัน, ลักษณะที่บังเกิดสำแดงเหตุดีและร้าย เช่น ชะตาดีชะตาร้าย; แบบรูปราศีที่บอกดาวพระเคราะห์เดินถึงราศีนั
- ชี้ชะตา กําหนด ตัดสิน
- ดูชะตา ดูดวง
- ชะตาตก ดวงจู๋ ดวงตก
- ชะตาร้าย คราวร้าย ตาร้าย
- ถูกชะตา ก. ถูกใจกันแต่แรกเห็น.
- สืบชะตา ต่ออายุ ยืดอายุ
- ชะง้ํา ชะง่อน
- ชะฉ่า ว. เสียงลูกคู่ที่รับเพลงปรบไก่.
- ชะช้า อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะ ชะชะ หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
- ชะล่า ๑ น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ท้องแบน หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย หัวตัดท้ายตัด มีขนาดยาวมาก. ๒ ก. เหิมใจ, ได้ใจ, กำเริบ, กล้าล่วงเกิน.
- เต้นชะชะช่า เต้นจังหวะชะชะช่า
- ชะตากรรม n. เหตุการณ์หรือเรื่องราวร้ายแรงที่เกิดขึ้นกับบุคคลเป็นต้น ชื่อพ้อง: โชคชะตา, เคราะห์กรรม ตัวอย่างการใช้: ครอบครัวของเขาประสบกับชะตากรรมที่ไม่มีใครคาดคิด
- ชะตาขาด v. เกิดเหตุร้ายแรงถึงชีวิต ตัวอย่างการใช้: หนุ่มจยย.ชะตาขาด ขี่รถอยู่ดีๆ ตายคาที่ด้วยกระสุนปริศนา