ชะแง้ คือ
"ชะแง้" การใช้"ชะแง้" อังกฤษ
- ก. เหลียวแลดู, เฝ้าคอยดู.
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- แง ๑ น. เรียกส่วนของหน้าตรงหว่างคิ้วว่า หน้าแง. ๒ ว. เสียงเด็กร้องไห้.
- ชะเง้อชะแง้ ชะเง้อ ชะแง้
- ตะแง้ น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าว ว่า ตะแง้หมาก ตะแง้ข้าว, ระแง้ ก็เรียก.
- ระแง้ น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าวว่า ระแง้หมาก ระแง้ข้าว, ตะแง้ ก็ว่า.
- ชะแม่ น. หัวหน้าโขลน.
- ชะแลง น. เครื่องมือชนิดหนึ่ง ทำด้วยท่อนเหล็กมีปลายแบน สำหรับงัดสิ่งของหรือขุดดิน.
- ชะแล็ก (ปาก) น. เชลแล็ก. (อ. shellac).
- ชะแวง น. ชื่อปลาชนิดหนึ่ง เช่น ชะแวงแฝงฝั่งแนบ. (เห่เรือ).
- กระแชะ (กลอน) ก. กระแซะ เช่น แกล้งทำเลียมและกระแชะชิด สะบิ้งสะบัดดัดจริตกิริยา. (คาวี).
- ทำชะแล็ก ทำให้คว่ำ ทำให้พ่ายแพ้
- แง่ ๑ น. ส่วนที่เป็นเหลี่ยมเป็นสันเป็นมุมหรือส่วนที่ยื่นออกมา เช่น แง่หิน แง่โต๊ะ, โดยปริยายหมายความว่า เหลี่ยม, ชั้นเชิง, เช่น ชาวแพแผ่แง่ค้าขายของ. (นิ. นรินทร์), นัย. ๒ (โบ) น. ตัว เช่น แต่งแง่. (จาร
- กระง่องกระแง่ง ว. อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรง ทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระย่องกระแย่ง หรือ ง่องแง่ง ก็ว่า.
- กระง่อนกระแง่น ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า.
- กะง้องกะแง้ง (ถิ่น-พายัพ) ว. คดไปคดมา, งอไปงอมา.
ประโยค
- ชะเง้อชะแง้ ! ทุกอย่างและทุกสังคมของเราจะอุดม . ตีลงจากของเราเองต้องยุติและแนวคิดหลังของสิ่งที่จะได้รับล่วงหน้าจะต้องได้รับการแก้ไข .