ชะโงกข้าม คือ
"ชะโงกข้าม" การใช้"ชะโงกข้าม" อังกฤษ
- ชะ ๑ ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยน้ำ ในลักษณะและอาการอย่างชะแผล; ชำระล้างด้วยอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง. ๒
- ชะโงก ก. ยื่นหน้าหรือส่วนหน้าออกไป.
- โง ก. ยก (ใช้แก่หัว) เช่น โงหัวไม่ขึ้น.
- โงก ว. อาการที่หัวงุบลงเพราะง่วง.
- งก ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
- ข้า ๑ น. บ่าวไพร่, คนรับใช้. ๒ ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
- ข้าม ๑ ก. ยกเท้าย่างผ่านเหนือสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้พ้นไป เช่น ข้ามธรณีประตู, ผ่านจากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง เช่น ข้ามฟาก ข้ามถนน,
- ชะโงกผา น. หินซึ่งยื่นออกไปจากหน้าผา.
- ชะโงกมาใกล้ อยู่เหนือ เข้ามาใกล้
- ชะโงกออกไป ยื่นออกไป
- ชะโงกเหนือ ชะโงกข้าม โน้มต้วข้าม
- สิ่งที่ชะโงกเงื่อม ส่วนเกิน
- ตักน้ำใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา (สำ) ก. ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว.
- กระโงก (กลอน) น. นกยูง, กุโงก ก็ว่า. (เทียบ ข. โกฺงก).
- ระโงกหิน (ถิ่น-อีสาน) น. ชื่อเห็ดชนิด Amanita verna (Bull. ex Fr.) Vitt. ในวงศ์ Amanitaceae ลักษณะคล้ายเห็ดฟางแต่ดอกสีขาว ก้านมีวงแหวน โคนก้านโป่งเป็นกระเปาะ กินตาย.
ประโยค
- และคนที่อยู่ในคอกต่อไปชะโงกข้ามและถามคุณเกี่ยวกับพระเจ้าหรือคาฟคา