ตระแบ่น คือ
ตฺระ-
(กลอน) ก. ทิ้งลง, ตกลง, โผลง, เช่น ตระแบนไว้กลางดิน. (โบ) น. แผ่น. (อนันตวิภาค).
- ตร หล่อ
- ตระ ๑ ตฺระ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ๒ ตฺระ น. แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).
- ตระแบ่ ตฺระ- ( โบ ) ก. แผ่. ( อนันตวิภาค ).
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- แบ ก. แผ่ให้แบนออก เช่น แบมือ, กางแผ่ออก เช่น แบหนังสือไว้. ว. อาการที่เปิดแผ่หรือวางทิ้งไว้อย่างไม่เอาใจใส่เป็นต้น เช่น นอนแบ เปิดแบไว้ ทิ้งแบไว้.
- บ่ บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ เมื่อใช้ว่า บ่ ก็มีความเช่นเดียวกัน.
- บ่น ก. พูดพร่ำหรือว่ากล่าวซ้ำ ๆ ซาก ๆ; กล่าวซ้ำ ๆ กัน เช่น ท่องบ่นภาวนา.
- ตระแบก ตฺระ- (กลอน) น. ต้นตะแบก, กระแบก ก็เรียก.
- ตระแบง ๑ ตฺระ- (กลอน) ก. สะแบง, สะพาย, เช่น ตาวตระแบง. ๒ ตฺระ- ก. ผูกไขว้, ผูกบิด. (ข. ตฺรแบง ว่า ผูกไขว้ด้วยไม้ขันชะเนาะ).
- ตระแบน ตฺระ- (กลอน) ก. ทิ้งลง, ตกลง, โผลง, เช่น ตระแบนไว้กลางดิน. (โบ) น. แผ่น. (อนันตวิภาค).
- ตระแตร้น ตฺระแตฺร้น, -แตฺร้น (กลอน) ว. เสียงช้างร้อง.
- กระแบ่ (โบ) น. กระบิ, ชิ้น, ส่วน, เช่น เราจะให้บั่นให้แล่ ทุกกระแบ่จงหนำใจ. (ลอ), ทุกกระแบ่เนื้อเห็นเปล่าเลย. (ม. คำหลวง กุมาร), กระแบะ ก็ว่า.
- ระแบบ (กลอน) น. แบบ.
- กระแบก น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก. (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็ว่า.
- กระแบะ ๑ น. แผ่น, ชิ้น, ส่วน, กระแบ่ ก็ว่า. ๒ น. ขนาดเท่าฝ่ามือ.