เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ตะบันน้ำกิน คือ

สัทอักษรสากล: [ta ban nām kin]  การออกเสียง:
"ตะบันน้ำกิน" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • (สำ) ว. แก่มากจนเคี้ยวของกินไม่ไหว.
  • ตะ     ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
  • ตะบัน     ๑ pic038.jpg ( ตะบัน ) น. เครื่องตำหมากของคนแก่ มีรูปคล้ายกระบอก โดยมากทำด้วยทองเหลือง มีลูกตะบันสำหรับตำ และมีดากอุดก้น. ( เทียบ ข.
  • บัน     ๑ น. จั่ว (หน้าจั่วของปราสาท โบสถ์ วิหาร เรียกว่า หน้าบัน). ๒ ก. ผัน, ผิน. ๓ ก. เบา, น้อย, เช่น มัวเมาไม่บัน. ( ดึกดำบรรพ์ ).
  • น้ำ     น. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยน้ำหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส
  • น้ำกิน     n. น้ำบริสุทธิ์ที่ใช้ดื่มแก้กระหาย ชื่อพ้อง: น้ำดื่ม ตัวอย่างการใช้: ไปเดินป่าวันนี้เตรียมน้ำกินไว้ด้วยก็ดี
  • กิน     ก. เคี้ยว เช่น กินหมาก, เคี้ยวกลืน เช่น กินข้าว, ดื่ม เช่น กินน้ำ, ทำให้ล่วงลำคอลงไปสู่กระเพาะ; โดยปริยายหมายความว่าเปลือง เช่น กินเงิน กินเวลา,
  • ตะบันน้ํา    โครงสร้างชลศาสตร์
  • ตะบี้ตะบัน    (ปาก) ว. ซ้ำ ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, ไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน.
  • ตะบูน    น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Xylocarpus วงศ์ Meliaceae ขึ้นตามป่าชายเลนและริมแม่น้ำที่น้ำเค็มขึ้นถึง มี ๒ ชนิด คือ ตะบูนขาว หรือ กระบูน (X. granatum Koenig) เปลือกสีน้ำตาลแกมแดง ผลขนาดส้มโอ และ ตะบูน
  • ตะบองกัน    น. ชื่อเพลงกลองชนิดหนึ่ง, กระบองกัน ก็ว่า.
  • ตะบิดตะบอย    ว. แกล้งให้ชักช้า, ชักช้าร่ำไร.
  • ตะบึงตะบอน    กระเง้ากระงอด เจ้าแง่แสนงอน แสนงอน
  • ตะบม    ว. ร่ำไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น เที่ยวตะบม.
  • ตะบอง    น. ไม้สำหรับถือ ใช้ตี โดยมากมีรูปกลม, ที่มีขนาดยาวประมาณ ๔ ศอก เรียกว่า ตะบองยาว ที่มีขนาดยาวประมาณ ๑ ศอก เรียกว่า ตะบองสั้น, กระบอง หรือ ตระบอง ก็ว่า.
  • ตะบอย    ว. อาการที่ทำอย่างชักช้าร่ำไร.