ตะลิบ คือ
- ว. ลิบ, ไกล, เช่น ตะลิบหายไปไม่เห็นตัว. (ม. กาพย์ กุมารบรรพ).
- ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
- ลิ ก. แตกบิ่นไปเล็กน้อย, อาการที่ของเป็นปุ่มเป็นแง่แตกบิ่นไปเล็กน้อย, เช่น พระกรรณพระพุทธรูปลิไปข้างหนึ่ง ขอบถ้วยลิไปนิดหนึ่ง.
- ลิบ ว. สุดสายตา (ใช้เฉพาะไกลกับสูง) เช่น ไกลลิบ สูงลิบ ห่างกันลิบ ทิ้งกันลิบ มองเห็นยอดปราสาทลิบ ๆ.
- ตกตะลึงกับ ประหลาดใจมาก
- ตะลุมบอนกับ ต่อสู้ชุลมุนกับ ต่อสู้พัลวันกับ
- บ้องตะลา น. งูชนิดหนึ่ง, ตะยองสะลา ก็ว่า. (พจน. ๒๔๙๓).
- เตะลูกกลับ เตะกลับ
- ตะลีตะลาน ๑ ว. รีบร้อนลนลาน, ลุกลน. ๒ ดู ตะลาน ๒.
- ตะลอง น. อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ กระชุก, และ ๔ ตะลอง เป็น ๑ เกวียน.
- ตะลอน (ปาก) ก. เที่ยวไปเรื่อย ๆ.
- ตะละ (กลอน) ว. ดุจ, เหมือน, เช่น ลำต้นตะละคันฉัตร; แต่ละ เช่น ตะละคน.
- ตะลาน ๑ น. ชื่องูชนิด Ptyas korros ในวงศ์ Colubridae ตัวยาวประมาณ ๑ เมตร ตาโต เลื้อยเร็ว ออกหากินเวลากลางวัน ส่วนมากจะหากินตามพื้นดิน ไม่มีพิษ, สิง ตาโต หรือ ตาลาน ก็เรียก. ๒ น. ชื่อมดหลายชนิดในวงศ์ Formi
- ตะลึง ก. อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง.
- ตะลึงงัน v. อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง , , ชื่อพ้อง: ตกตะลึง ตัวอย่างการใช้: กลุ่มคนที่เข้าไปมุงดูต่างตะลึงงันอยู่กับภาพคนตายตรงหน้า
- ตะลุง ๑ น. ชื่อมหรสพอย่างหนึ่ง ใช้หนังสลักเป็นรูปภาพขนาดเล็ก คีบด้วยไม้ตับอันเดียว เชิดภายในโรงให้แสงไฟส่องผ่านตัวหนังสร้างเงาให้ปรากฏบนจอผ้าขาวหน้าโรง ใช้ปี่ กลอง และฆ้องคู่บรรเลงประกอบ ผู้เชิดเป็นผู้พาก