เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ทะแยสามชั้น คือ

สัทอักษรสากล: [tha yaē sām chan]  การออกเสียง:
"ทะแยสามชั้น" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • น. เพลงสำหรับร้องรับในวงมโหรีปี่พาทย์.
  • ทะ     ๑ คำใช้นำหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น หรือเป็นคำซ้ำซึ่งคำหน้าเสียงกร่อนไป เช่น ๒ ( กลอน ) ก. ปะทะ เช่น
  • ทะแย     น. ชื่อเพลงไทยโบราณทำนองหนึ่ง มีมาแต่สมัยอยุธยา มีอัตรา ๒ ชั้น ประเภทหน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน ท่อนที่ ๑ มี ๔ จังหวะ ท่อนที่ ๒ มี ๖ จังหวะ.
  • สา     ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
  • สาม     สามะ-, สามมะ- น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. ( ส. ). ๑ น. จำนวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์.
  • สามชั้น     น. เรียกเนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อว่า หมูสามชั้น; จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว
  • ชั้น     น. ที่สำหรับวางของอย่างหนึ่ง มีพื้นซ้อนกันคล้ายตู้แต่ไม่มีบานปิด; สิ่งที่ซ้อนลดหลั่นกันเป็นขั้น ๆ เช่น ฉัตร ๕ ชั้น; ขั้นที่ลดหลั่นกัน เช่น
  • หมูสามชั้น    น. เนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อ.
  • สร้อยทะแย    น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
  • ฉัตรสามชั้น    ฉัด- น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า หวนสวาทโหยถวิลโหยสวาทหวน ครวญคะนึงคะเนนึกคะนึงครวญ ใจเศร้าโศกแสนกำสรวลโศกเศร้าใจ.
  • ทะยาทะแยแส    ก. เอาใจใส่เป็นพิเศษ, เอื้อเฟื้อ.
  • สามชุก    น. ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สำหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, กระชุก ก็เรียก. (ดู กระชุก ๒).
  • สิ่งที่ไม่สามารถจะแบ่งแยกออกจากกัน    ความคิดที่แยกออกจากกันไม่ได้ แบ่งแยกกันไม่ได้ แยกไม่ได้
  • ทะแยกลองโยน    น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์ซึ่งใช้ทำนองเพลงทะแยมาบรรเลงอย่างเพลงเรื่อง และต้องตีกลองหน้าทับกลองโยนเลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโย
  • สารดูดความชื้น    n. สารเคมีใช้สำหรับสินค้า ใช้ดูดความชื้นเพื่อป้องกันความเสียหายของสินค้า เช่น ป้องกันการเกิดเชื้อรา กลิ่นอับ เป็นต้น ตัวอย่างการใช้: ในการดูแลรักษากล้อง ให้นำกล้องออกจากซองหนัง แล้วนำไปใ
  • สารลดความชื้น    สารดูดความชื้น