ทะยาทะแยแส คือ
สัทอักษรสากล: [tha yā tha yaē saē] การออกเสียง:
"ทะยาทะแยแส" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ก. เอาใจใส่เป็นพิเศษ, เอื้อเฟื้อ.
- ทะ ๑ คำใช้นำหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น หรือเป็นคำซ้ำซึ่งคำหน้าเสียงกร่อนไป เช่น ๒ ( กลอน ) ก. ปะทะ เช่น
- ยา น. สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบำรุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาน้ำ เรียกตามสีก็มี เช่น ยาแดง
- ทะแย น. ชื่อเพลงไทยโบราณทำนองหนึ่ง มีมาแต่สมัยอยุธยา มีอัตรา ๒ ชั้น ประเภทหน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน ท่อนที่ ๑ มี ๔ จังหวะ ท่อนที่ ๒ มี ๖ จังหวะ.
- แยแส ก. เอาเป็นธุระ, เกี่ยวข้อง, สนใจ, เอาใจใส่, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น เขาไม่แยแสว่าใครจะคิดอย่างไร.
- แส ๑ ก. แฉ, ชำระ, สะสาง. น. หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคำ สาว ว่า สาวแส. ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์
- ทะยาน ก. เผ่นขึ้นไป เช่น เครื่องบินทะยานขึ้นสู่ฟ้า, โผนเข้าใส่ เช่น ทะยานเข้าสู้.
- สร้อยทะแย น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
- ทะเยอทะยาน ก. อยากมีฐานะหรือภาวะสูงกว่าดีกว่าที่เป็นอยู่.
- ทะเยอทะยาย มักใหญ่ใฝ่สูง ใฝ่สูง
- ทะยานใจ ก. ย่ามใจ, เหิมใจ.
- พุ่งทะยาน ทยาน
- แส้ม้าทะลาย ดู ชิงชี่.
- ทะแยกลองโยน น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์ซึ่งใช้ทำนองเพลงทะแยมาบรรเลงอย่างเพลงเรื่อง และต้องตีกลองหน้าทับกลองโยนเลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโย
- ทะแยสามชั้น น. เพลงสำหรับร้องรับในวงมโหรีปี่พาทย์.
- ทะยานอยาก ก. อยากได้หรืออยากมีอยากเป็นยิ่ง ๆ ขึ้น.