ทักขิณา คือ
"ทักขิณา" การใช้"ทักขิณา" อังกฤษ
- น. ทักษิณา, ทานเพื่อผลอันเจริญ; ขวา, ทิศใต้. (ป.; ส. ทกฺษิณา).
- ทัก ๑ ก. กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น
- ทักขิณ ( แบบ ) ว. ทักษิณ, ใต้; ข้างขวา. ( ป. ; ส. ทกฺษิณ).
- ทักขิณาบถ น. เมืองแถบใต้, ประเทศฝ่ายทิศใต้. (ป.).
- ทักขิณาวัฏ น. การเวียนขวา. ว. เวียนไปทางขวา คือเวียนเลี้ยวทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา, ทักษิณาวรรต ก็ว่า, ตรงข้ามกับ อุตราวัฏ หรือ อุตราวรรต. (ป.; ส. ทกฺษิณาวรฺต).
- ลักขณา -ขะนา (กลอน) ว. มีลักษณะดี.
- ทักข์ ๑ ว. สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. (ป.). ๒ ก. ดู, แล, เห็น, เช่น เล็งทักข์อาทรเธอ เท่าฟ้า, เล็งทักข์ทุรเวทแล้ว เล็งดอย ดงนา. (ลำน้ำน้อย).
- ทุกข ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. (ป.; ส. ทุะข).
- ทุกข- ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. (ป.; ส. ทุะข).
- ทุกข์ ทุกขะ-, ทุก น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ. (ป.; ส. ทุะข).
- ทักษิณา น. ของทำบุญ. (ส.).
- ท่าทีที่กรุณา การก้มหัวลง การถ่อมตัวลงมา ท่าทีที่เอื้อเฟื้อ
- ทักษิณายัน น. ทางใต้; (ดารา) จุดสุดทางใต้ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ ธันวาคม เป็นจุดในหน้าหนาว มีกลางคืนยาวที่สุด เรียกว่า ทักษิณายัน (winter solstice), คู่กับ อุตตรายัน, เหมายัน ก็เรียก. (ส.; ป. ทกฺขิ
- ทักขิญ -ขิน น. ความเป็นเบื้องขวา หมายความว่า สะดวกในการพูดจาปราศรัย, ความอารีอารอบ, ความกรุณา. (ป. ทกฺขิญฺ).
- ทักขิญญ์ ความกรุณา ความอารีอารอบ ทักขิญ
- ทิพจักขุ ทิบพะจักขุ น. ตาทิพย์ คือ จะดูอะไรเห็นได้ทั้งหมด, เป็นอภิญญาอย่าง ๑ ในอภิญญา ๖. (ป. ทิพฺพจกฺขุ; ส. ทิพฺยจกฺษุ).