ทุรศีลธรรม คือ
- น. การกระทำผิดศีลธรรมอันดีของประชาชน. (อ. immoral).
- ทุ ๑ ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า
- ทุร ทุระ- ว. คำประกอบหน้าคำศัพท์ หมายความว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทุรค ว่า ที่ไปถึงยาก, ทางลำบาก. ( ส. ).
- ศีล สีน น. ข้อบัญญัติทางพระพุทธศาสนาที่กำหนดการปฏิบัติกายและวาจา เช่น ศีล ๕ ศีล ๘, การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม; ( ดู
- ศีลธรรม สีนทำ, สีนละทำ น. ความประพฤติที่ดีที่ชอบ, ศีลและธรรม, ธรรมในระดับศีล.
- ธร ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
- ธรรม ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- ที่ผิดศีลธรรม ที่ผิดจรรยา
- ที่ไร้ศีลธรรม ที่ไม่มีศีลธรรม
- ศิลธรรม 20 grains ความกระดากใจ ความคำนึงถึงศีลธรรมจรรยา จรรยา จำ-นวนน้อยมาก จำนวนเล็กน้อยมาก vi.
- ที่ไม่มีศีลธรรม ที่ไร้ศีลธรรม
- ที่ไม่อยู่ในศีลธรรม ที่ทําอะไรตามใจชอบ ที่ประพฤติผิดศีลธรรม ที่หลงระเริง
- กฎศีลธรรม น. กฎว่าด้วยการกระทำที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องทางศีลธรรม.
- ซึ่งผิดศีลธรรม ผิดกฎหมาย เถื่อน ซึ่งต้องลักลอบ
- ทางศีลธรรม เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดี เกี่ยวกับศีลธรรม