ทํากรรมทําเวร คือ
"ทํากรรมทําเวร" อังกฤษ
- ทํากรรม
ทําเวรทํากรรม
ทําบาปทํากรรม
- ทํา ดําเนินการ ปฏิบัติงาน กระทํา กระทําการ ทําการ แสดง ทํางาน ปฏิบัติ ปฏิบัติหน้าที่ ประกอบหน้าที่ จัดการ เตรียม ดําเนินต่อไป สร้าง ก่อ สาธิต
- ทํากรรม ทํากรรมทําเวร ทําเวรทํากรรม ก่อกรรม สร้างกรรม ทําบาป ทําบาปทํากรรม
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กรร ๑ กัน ( โบ ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ( สมุทรโฆษ ). ( ข. กาน่ ว่า ถือ). ๒ กัน ( เลิก ) ก. กัน เช่น เรือกรร. ๓ กัน-
- กรรม ๑ กำ, กำมะ- น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒)
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- มท กระทรวงมหาดไทย
- ทําเวร อยู่เวร เข้าเวร ก่อเวร ทําเวรทํากรรม ผูกเวร สร้างเวร
- เวร ๑ น. ความพยาบาท, ความปองร้าย, บาป, เช่นเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร; คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมของตนในอดีต เช่นเวรของฉันแท้
- วร วะระ-, วอระ- น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ( ป. , ส. ).
- ทําเวรทํากรรม ทํากรรม ทํากรรมทําเวร ทําบาปทํากรรม ก่อเวร ทําเวร ผูกเวร สร้างเวร
- ทำกรรมทำเวร v. ทำสิ่งที่เป็นทุกข์เป็นโทษ ชื่อพ้อง: ทำบาปทำกรรม, ทำเวรทำกรรม ตัวอย่างการใช้: ผมคงจะได้ทำกรรมทำเวรไว้มากในชาติก่อนถึงได้ลำบากในชาตินี้
- ผู้ที่ประสบกับชะตากรรมที่เลวร้าย ผู้น่าเวทนา ผู้เคราะห์ร้าย
- กรรมเวร กำเวน น. การกระทำที่สนองผลร้ายซึ่งทำไว้แต่ปางก่อน; คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า.
- กรรมเวรา กรรมเวร เคราะห์กรรม เวร เวรกรรม