ธรณ คือ
"ธรณ" การใช้
ทอน, ทอระนะ
(แบบ) น. การถือไว้, การทรงไว้, การยึดไว้. (ป., ส.).
- ธร ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
- รณ รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
- (ธรณี) เป็นคำที่ใช้ในธรณีวิทยา
- ธรณี ทอระนี น. แผ่นดิน เช่น ธรณีสูบ, พื้นแผ่นดิน เช่น ธรณีวิทยา, โลก เช่น นางในธรณีไม่มีเหมือน. (ป., ส.).
- ธรณะ ทอน, ทอระนะ (แบบ) น. การถือไว้, การทรงไว้, การยึดไว้. (ป., ส.).
- ธรณิน ทอระ- (กลอน) น. ธรณี, แผ่นดิน, เช่น กึกก้องสะเทือนธรณิน. (ลอ).
- ธรณินทร์ ทอระนิน (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- ธรณิศ ทอระนิด (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- ธรณิศร ทอระนิด (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- ธรณิศวร์ ทอระนิด (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
- ธรณีศวร น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส. ธรณี + อิศฺวร).
- ธรณีสงฆ์ น. ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด.
- ธรณีสาร ๑ น. เสนียดจัญไร, เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอนอยู่เสมอว่า คนต้องธรณีสาร. ๒ น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Phyllanthus pulcher Wall. ex Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae ลำต้นตรง ใช้ทำยาได้, ว่า
- ธรณีสูบ ก. อาการที่แผ่นดินแยกออกทำให้คนที่ทำบาปกรรมอย่างยิ่งตกลงหายไป แล้วแผ่นดินก็กลับเป็นอย่างเดิม เป็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาว่า ธรรมชาติจะลงโทษคนที่ทำบาปหนักนั้นเอง โดยผู้อื่นไม่ต้องลงโทษ.
- อุทธรณ์ อุดทอน น. การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, การเคลื่อนที่, การเสนอ, การนำมาให้; ชื่อศาลสูงถัดจากศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น เรียกว่า ศาลอุทธรณ์. ก. (ก
ประโยค
- ถ้าให้เดา คงเป็นวิกฤติ ระดับชาติ ของนักธรณีวิทยา
- เทอร์รี่ถูกยกเลิกการยื่นอุทธรณ์ของเขาเมื่อไหร่
- วันพรุ่งนี้เป็นวันสุดท้ายที่จะอุทธรณ์ต่อศาลสูง
- ซึ่งจะเพิ่มโอกาสของความไม่เสถียรคงทางธรณีวิทยา
- เป็นผู้พิพากษาอุทธรณ์อายุน้อยสุด ในนิวเจอร์ซีย์
- ฉันกำลังเตรียมตัวอ่านหนังสือธรณีวิทยา ในเช้านี้
- และเจ้าจะยังคงยืนกรานที่จะอุทธรณ์ และขัดขวางข้า
- ชนิดทางธรณีวิทยาของหิน ที่เราสัมผัสได้ในพื้นที่
- พวกเราคงจะกลับมาที่ยาน เพลเมอร์เป็นนักธรณีวิทยา
- ไม่ได้ส่งการพิจารณาคดี ที่อยู่ระหว่างการอุทธรณ์
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3 4 5