เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ธรรมธาดา คือ

สัทอักษรสากล: [tham ma thā dā]  การออกเสียง:
"ธรรมธาดา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
  • ธร     ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
  • ธรรม     ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • ธาดา     น. ผู้สร้าง, ผู้ทรงไว้, พระพรหมผู้สร้างตามหลักศาสนาพราหมณ์. ( ป. ).
  • ดา     ๑ น. ชื่อแมลงพวกมวน มีหลายสกุล, ชนิดที่ตัวกว้าง รูปไข่ แบน เมื่อพับปีก ปีกจะแนบไปกับสันหลัง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖.๒-๘.๒ เซนติเมตร
  • ธรรมธาตุ    น. ธรรมารมณ์. (ส.; ป. ธมฺมธาตุ).
  • ความธรรมดา    การขาดรสนิยม สามัญ
  • ตามธรรมดา    adv. ตามปกติที่เคยเป็นมา, ไม่แปลกไปจากที่เคยเป็น , ชื่อพ้อง: ตามปกติ ตัวอย่างการใช้: ตามธรรมดา จะมีการเลือกตั้งอธิการบดีทุกๆ 4 ปี
  • พรหมธาดา    น. พระพรหมผู้สร้าง.
  • กรมธรรม์    กฺรมมะทัน (กฎ; โบ) น. เอกสารซึ่งทาส ลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข
  • ความธรรมดามาก    ความน่าเบื่อ ความไม่สร้างสรรค์
  • ความธรรมดาหรือจืดชืด    ความแสร้ง วิธีการลดหรือเปลี่ยนอย่างฮวบฮาบ
  • นามธรรม    นามมะทำ น. สิ่งที่ไม่มีรูป คือ รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น, คู่กับ รูปธรรม. (ส.; ป. นามธมฺม).
  • ธรรมดา    น. อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ เช่น การกิน การถ่ายเท การสืบพันธุ์ และการเสื่อมสลาย. ว. สามัญ, พื้น ๆ, ปรกติ, เช่น เป็นเรื่องธรรมดา. (ส. ธรฺมตา; ป. ธมฺมตา).
  • สารกรมธรรม์    สานกฺรมมะ- ดู กรมธรรม์.