เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ธรรมารมณ์ คือ

สัทอักษรสากล: [tham mā rom]  การออกเสียง:
"ธรรมารมณ์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ทำมา-
    น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. (ป. ธมฺมารมฺมณ).
  • ธร     ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
  • ธรรม     ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • มาร     มาน, มาระ-, มานระ- น. เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ; ยักษ์; ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕
  • ธรรมานุสาร    ทำมา- น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม. (ส.; ป. ธมฺมานุสาร).
  • สมารมณ์    การหยั่งรู้ การเอาใจใส่ การใส่อารมณ์ ความร่วมรู้สึก
  • ธรรมาธรรม    ทำมา- น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาธมฺม).
  • การมีธรรมะ    ความชอบธรรม ความตรงไปตรงมา ความถูกต้อง
  • เจริญสมณธรรม    ก. บำเพ็ญสมณธรรม.
  • ธรรมาทิตย์    ทำมา- น. อาทิตย์แห่งธรรม คือพระพุทธเจ้า. (ส.).
  • ธรรมาภิมุข    ทำมา- ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาภิมุข).
  • ธรรมาภิสมัย    ทำมา- น. การตรัสรู้ธรรม, การสำเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย).
  • ธรรมาสน์    ทำมาด น. ที่สำหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. (ส.).
  • กามารมณ์    น. กามคุณ, อารมณ์ที่น่าใคร่. (ป. กาม + อารฺมณ).