ธรรมเจดีย์ คือ
สัทอักษรสากล: [tham ma jē dī] การออกเสียง:
"ธรรมเจดีย์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- น. เจดีย์ที่บรรจุพระธรรมที่มักจารลงบนใบลาน, คัมภีร์ที่จารึกพระธรรม เช่น พระไตรปิฎก.
- ธร ทอน น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ( ป. ; ส. ธฺฤ).
- ธรรม ๑ ทำ, ทำมะ- น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
- รม ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- เจดีย -ดียะ- น. สิ่งซึ่งก่อเป็นรูปคล้ายลอมฟาง มียอดแหลม บรรจุสิ่งที่นับถือมีพระธาตุเป็นต้น, สิ่งหรือบุคคลที่เคารพนับถือ. ( ป. เจติย; ส. ไจตฺย).
- เจดีย์ ๑ -ดียะ- น. สิ่งซึ่งก่อเป็นรูปคล้ายลอมฟาง มียอดแหลม บรรจุสิ่งที่นับถือมีพระธาตุเป็นต้น, สิ่งหรือบุคคลที่เคารพนับถือ. ( ป. เจติย; ส. ไจตฺย).
- จด ๑ ก. จ่อให้ถึงกัน, ถึง, จนถึง; แตะ. ๒ ก. กำหนด, หมายไว้, เขียนไว้.
- ดี ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ
- ยุกติธรรม น. ยุติธรรม.
- ยุติธรรม น. ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, เช่น ศาลย่อมทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม; ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอน
- ธรรมเนียม ทำ- น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง.
- ธรรมวินัย n. พระธรรมและพระวินัย , ชื่อพ้อง: พระธรรมวินัย clf.: ฉบับ
- ธรรมาภิสมัย ทำมา- น. การตรัสรู้ธรรม, การสำเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย).
- ปริยัติธรรม ปะริยัดติทำ น. ธรรมที่จะต้องเล่าเรียนได้แก่พระไตรปิฎก.
- ยุติธรรมกับ ปฏิบัติกับ...อย่างยุติธรรม