นวก คือ
"นวก" การใช้
นะวะกะ-
น. หมวด ๙ หมายความว่า วัตถุอันมีจำนวน ๙ ทุกอย่าง เช่น รัตนะ ๙ คำสอนของพระศาสดา ๙ พุทธคุณ ๙ เอามารวมไว้ในหมวดนั้น เรียกว่า นวก เช่น นวกนิบาต. (ป.).
- นว นะวะ- ว. เก้า, จำนวน ๙, (ใช้เป็นคำหน้าสมาส). ( ป. ; ส. นวนฺ).
- วก ก. หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี.
- นวก- ๑ นะวะกะ- น. ผู้ใหม่, ผู้อ่อน. (ป.). ว. ใหม่, อ่อน, เช่น พระนวกะ นวกภูมิ. ๒ นะวะกะ- น. หมวด ๙ หมายความว่า วัตถุอันมีจำนวน ๙ ทุกอย่าง เช่น รัตนะ ๙ คำสอนของพระศาสดา ๙ พุทธคุณ ๙ เอามารวมไว้ในหมวดนั้น เ
- นวกภูมิ นะวะกะพูม น. ขั้นหรือชั้นแห่งผู้ใหม่, ในคณะสงฆ์หมายถึงภิกษุที่มีพรรษาต่ำกว่า ๕, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่), ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, และ ชั้นสูง คือ เถ
- นวกะ นะวะกะ- น. ผู้ใหม่, ผู้อ่อน. (ป.). ว. ใหม่, อ่อน, เช่น พระนวกะ นวกภูมิ.
- นวการ น. การก่อสร้าง.
- นวกิจ น. การก่อสร้าง.
- ผนวก ผะหฺนวก ก. เพิ่มเข้า, บวกเข้า, เช่น ผนวกดินแดน.
- หนวก หฺนวก ว. อาการที่หูขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง.
- หนวกหู ก. รู้สึกรำคาญหูเพราะเสียงเซ็งแซ่อื้ออึง เช่น เด็ก ๆ เล่นกันเกรียว หนวกหูเหลือเกิน, โดยปริยายหมายความว่า รำคาญ เช่น เธอพูดมากฉันหนวกหูเต็มทีแล้ว. ว. เซ็งแซ่อื้ออึงรำคาญหู เช่น เด็ก ๆ จุดประทัดเล่นกั
- หูหนวก น. หูที่ขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง, โดยปริยายหมายความว่า ฟังอะไรไม่ได้ยิน.
- คนหูหนวก กลุ่มคนหูหนวก ผู้พิการทางหู
- นวกรรม น. การก่อสร้าง.
- น้ำหนวก น. น้ำที่อยู่ในช่องหูซึ่งมีอาการอักเสบ มีกลิ่นเหม็น อาจมีลักษณะใส เป็นมูกข้นหรือเป็นหนอง.
- สิ่งผนวก มุมเสริม180องศาหรือครึ่งวงกลม ส่วนเสริม
ประโยค
- เสียงทางโทรศัพท์มันหนวกหูมากและเธอกำลังร้องไห้
- ท่านวุฒิฯ อมิดาล่า เป็นไปได้มั้ยว่าท่านจะหูหนวก ?
- จะทำเป็นหูหนวกตาบอดแล้วอยู่ที่นี่ต่อไปงั้นเหรอ
- ที่นี่หนวกหูจัง เราไปหาผับที่บรรยากาศดีๆกันเถอะ
- สิ่งนั้น ผนวกกับไลฟ์สตรีม จะชี้นำกระแสของโลกได้
- ฉันดีใจจัง คนเค้ากำลังฉลองให้เรา แต่มันหนวกหูไป
- ค่อยหายห่วง เป็นเพราะหนวกหูนั่นเอง แม่ไม่ได้เจ็บ
- นอกจากระยะทางแล้ว แนวก็ถือเป็นความลำบากสองเท่า
- และเหมือนกับคนหูหนวกทั่วไป เธอมีกลิ่นปากแย่มาก
- เขาก็ไม่ได้เป็นอะไรมากหรอก แค่กำลังจะหูหนวกน่ะ
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3 4 5