นิพัทธ์ คือ
"นิพัทธ์" การใช้
นิพัดทะ-, นิพัด
(แบบ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
- นิ ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
- นิพัทธ นิพัดทะ-, นิพัด ( แบบ ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. ( ป. ).
- พัทธ พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. ( ป. ).
- พัทธ์ พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. ( ป. ).
- นิพัทธ- นิพัดทะ-, นิพัด (แบบ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
- นิพัทธกุศล นิพัดทะ- น. กุศลที่ทำเป็นนิจ.
- พัทธ- พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. (ป.).
- พุทธ พุด, พุดทะ- น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า. (ป.).
- พุทธ- พุด, พุดทะ- น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า. (ป.).
- พุทธิ พุดทิ น. ปัญญา, ความฉลาด. (ป.).
- ปฏิพัทธ์ ก. เนื่องกัน, ผูกพัน, รักใคร่. (ป. ปฏิพทฺธ; ส. ปฺรติพทฺธ).
- พัทธยา ๑ น. จำนวนที่หักหรือริบเอาไว้เป็นภาคหลวง. ๒ น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝนว่า ลมพัทธยา.
- พัทธสีมา น. เขตที่สงฆ์กำหนดผูกขึ้นเพื่อใช้ทำสังฆกรรม มีขนาดพอจุภิกษุที่นั่งห่างกันคืบหนึ่ง ๆ ได้ไม่น้อยกว่า ๒๑ รูป.
- พิศุทธิ์ น. ความผ่องใส, ความงาม, ความดี, ความสะอาด, ความบริสุทธิ์, ความถูกต้อง; การล้าง. (ส. วิศุทฺธิ; ป. วิสุทฺธิ).
- พิศุทธ์ ว. สะอาด, ใส, ขาว, หมดจด, บริสุทธิ์, หมดมลทิน, ไม่มีความเสียหาย, ไม่มีตำหนิ. (ส. วิศุทฺธ; ป. วิสุทฺธ).
ประโยค
- เจตนิพัทธ์ ธีระวิทยภิญโญ
- รองศาสตราจารย์ นิพัทธ์ จิตรประสงค์ ผู้อำนวยการโครงการประกาศนียบัตรบัณฑิต ทางการประเมินราคาทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์